×

ผู้ลี้ภัย

18 กันยายน 2017

สงครามและน้ำใจ ในมุมมองของ วรรณสิงห์ ประเสริฐกุล นักศึกษาวิชาสงครามที่ ‘เถื่อน’ ที่สุดในเวลานี้

     “ผมอยากให้ทุกคนใช้ทั้งสมองและหัวใจ ทำความเข้าใจกับสงครามและผู้ลี้ภัย ใช้สมองคิดวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น ใช้หัวใจมองความเดือนร้อนของเพื่อนมนุษย์ มองผู้ลี้ภัยในฐานะเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน และเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน” คือประโยคหนึ่งที่ วรรณสิงห์ ประเสริฐกุล นักเดินทางที่ ‘เถื่อน’ ที่สุด เจ้าของหนังสือ ‘เถื่อนเจ็ด’ และรายการ ‘เถื่อน (...
15 กันยายน 2017

ไทยควรโอบรับผู้ลี้ภัยในฐานะ ‘มนุษย์’ หรือ ‘พลเมืองชั้นสอง’

     สงครามกลางเมืองที่เกิดจากความขัดแย้งทางการเมือง ศาสนา ไปจนถึงเชื้อชาติ ทำให้เกิดการอพยพของ ‘ผู้ลี้ภัย’ ที่กลายเป็นประเด็นระดับโลก เพราะโลกปัจจุบันกำลังเผชิญสงครามกลางเมืองในซีเรีย เยเมน ความรุนแรงที่เกิดจากความขัดแย้งทางเชื้อชาติและศาสนาในเมียนมา ปากีสถาน ไปจนถึงบางประเทศในทวีปแอฟริกา ประชาชนจากรัฐที่เผชิญกับสงครามจึงหลบหนีมายัง...
13 กันยายน 2017

UNHCR เผย ‘วิกฤต’ เด็กผู้ลี้ภัยกว่า 3.5 ล้านคน ไม่มีโอกาสเรียนหนังสือ

     นับวันปัญหาผู้ลี้ภัยดูจะกลายเป็นปัญหาใหญ่ที่ทั่วโลกต้องร่วมกันขบคิดและแก้ไข เพราะล่าสุดสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ หรือ UNHCR ได้เปิดเผยตัวเลขที่น่าตกใจว่าปัจจุบันมีผู้ลี้ภัยทั่วโลกกว่า 17.2 ล้านคนที่อยู่ภายใต้ความคุ้มครองของ UNHCR และจำนวนกว่าครึ่งคือเด็กๆ          ในรายงานเ...
13 กันยายน 2017

ศาลสูงสุดอเมริกาไฟเขียวคำสั่งแบนผู้ลี้ภัย 6 ประเทศของทรัมป์

     ศาลสูงสุดสหรัฐอเมริกาเห็นชอบคำสั่งต่อต้านผู้ลี้ภัยของประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์      ศาลสูงสุดระงับคำสั่งศาลมลรัฐที่ตัดสินในสัปดาห์ที่ผ่านมา ให้ยกเว้นคำสั่งดังกล่าวต่อผู้ลี้ภัยที่มีข้อผูกมัดตามสัญญาขององค์กรย้ายถิ่นฐานใหม่ต่างๆ ระหว่างที่ศาลทำการพิจารณาความชอบด้วยกฎหมายของคำสั่งดังกล่าวต่อไป   &nbs...
11 กันยายน 2017

‘นี่คือการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์’ เปิดใจ ฮัจยี อิสมาอีล มองวิกฤตโรฮีนจาด้วยสายตาโรฮีนจา

     ช่วง 2-3 สัปดาห์ที่ผ่านมา ข่าวคราวชะตากรรมของชาวโรฮีนจาครอบครองพื้นที่สื่ออย่างต่อเนื่อง หลายแง่มุมถูกนำเสนอ หลากความคิดเห็นถูกผลิตออกมา ทั้งจากนักวิเคราะห์ ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ หรือแม้แต่รัฐบาลไทย ที่ต่างก็มองเรื่องนี้แตกต่างกันออกไป      แต่ในฐานะ ‘ผู้ถูกกระทำ’ ที่ต้องอพยพ ‘หนีตาย’ จากรัฐยะไข่ไปบังกลาเทศ จ...
6 กันยายน 2017

จาก โรฮีนจา สู่ เบงกาลี พวกเขาคือใครกันแน่

     นับเป็นโศกนาฏกรรมที่ผู้คนทั่วโลกต่างจับจ้องว่าจะคลี่คลายไปในทิศทางไหน สำหรับการใช้กำลังทางทหารปราบปรามมุสลิมกลุ่มน้อยชาวโรฮีนจา ทางตอนเหนือของรัฐยะไข่ ประเทศเมียนมา ส่งผลให้ชาวโรฮีนจาต้องอพยพหนีตายออกจากพื้นที่ไม่ต่ำกว่า 123,000 คน โดยมีจุดหมายปลายทางคือประเทศบังกลาเทศ ที่มีพื้นที่ติดกัน      นอกเหนือจากการใช้ก...
6 กันยายน 2017

ออง ซาน ซูจี เคลื่อนไหวครั้งแรก หลังถูกกดดันจากประชาคมโลกจากเหตุกวาดล้างโรฮีนจา

       ออง ซาน ซูจี (Aung San Suu Kyi) เจ้าของรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ปี 1991 กล่าวถึงปัญหาชาวโรฮีนจาเป็นครั้งแรก หลังจากถูกประชาคมโลกกดดันและเร่งรัดให้จัดการกับโศกนาฏกรรมที่เกิดขึ้นกับชาวโรฮีนจาตั้งแต่ 2 สัปดาห์ก่อน      เธอกล่าวว่า “รัฐบาลของเธอกำลังทำงานเพื่อปกป้องสิทธิของชาวโรฮีนจา” ขณะสนทนาทางโทรศัพท์กั...
6 กันยายน 2017

โรฮีนจานับแสน ‘หนีตาย’ แล้วไทยเกี่ยวอะไรด้วย?

     ถึงตอนนี้ตัวเลขผู้ลี้ภัยชาวโรฮีนจาที่ ‘หนีตาย’ ออกจากทางตอนเหนือของรัฐยะไข่ ประเทศเมียนมา กำลังเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ล่าสุด UNHCR ประเมินว่าน่าจะมีจำนวนไม่ต่ำกว่า 123,000 คนเป็นอย่างน้อย โดยจุดหมายปลายทางที่พวกเขาเลือกไปเป็นที่แรกคือ ประเทศบังกลาเทศ      ขณะที่สถานการณ์ภายในรัฐยะไข่ตอนนี้ ยังไม่มีทีท่าว่าร...
28 สิงหาคม 2017

เช็กสถานะ ‘ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร’ ขอลี้ภัยไปไหนได้บ้าง

     หลังการไม่ปรากฏตัวของ ‘ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร’ อดีตนายกรัฐมนตรี ที่ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ในวันนัดอ่านคำพิพากษาคดีละเลยปล่อยให้มีการทุจริตโครงการรับจำนำข้าว เมื่อวันที่ 25 สิงหาคมที่ผ่านมา      คำถามที่ว่า “ยิ่งลักษณ์ อยู่ที่ไหน?”      ยังไม่มีคำตอบอย่างเป็นทางการ มีแต่คำตอ...
10 สิงหาคม 2017

ความจริงของ ‘ผู้ลี้ภัย’ เรื่องราวที่ ‘โอปอล์-หมอโอ๊ค’ อยากแชร์

     “ในความเป็นมนุษย์ ถ้ามองข้ามเชื้อชาติ มองข้ามความเป็นประเทศ หรือคิดว่าเขาไม่ใช่ญาติพี่น้อง แล้วเปิดใจกว้างในฐานะเพื่อนมนุษย์ ผมคิดว่าเราต้องช่วยกัน”      คำพูดบางส่วนที่ หมอโอ๊ค สมิทธิ์ ขอเป็นตัวแทน ‘ครอบครัวอารยะสกุล’ ส่งต่อความคิดและความรู้สึกไปถึงคนไทยทุกคน ขณะเดียวกัน โอปอล์ ปาณิสรา ที่วันนี้เป็นทั้งภรรยา ...


Close Advertising