×

ประวัติศาสตร์

19 มิถุนายน 2020

รู้จัก ‘โอตะแห่งวงการโบราณคดี’ ปรากฏการณ์นี้สะท้อนอะไร

เดิมทีหน้าที่และอำนาจในการสำรวจด้านโบราณคดีมักตกอยู่ในมือของนักโบราณคดีอาชีพ หมายถึงนักโบราณคดีที่ทำงานให้รัฐและผ่านการเรียนทางด้านนี้มาโดยตรง แต่ในรอบไม่กี่ปีมานี้ผมพบว่ามีคนจำนวนหนึ่งที่ชื่นชอบและทุ่มเทกับการสำรวจแหล่งโบราณคดีอย่างจริงจัง ชนิดที่เรียกได้ว่าพวกเขาคือ ‘โอตะ’ ในงานโบราณคดี คนเหล่านี้ล้วนไม่ได้ผ่านการเรียนด้านโบราณคดีมาโดยตรง ซึ่งสาม...
15 มิถุนายน 2020

หัวที่หายไปของโคลัมบัส กับปรากฏการณ์ลบความทรงจำบนอนุสาวรีย์ เรื่องเหล่านี้สะท้อนอะไร?

ผู้คนทั่วโลกต่างจดจำ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ในฐานะของผู้ค้นพบทวีปอเมริกา หากแต่การรับรู้ดังกล่าวนี้กลับปิดบังความจริงไว้ 2 เรื่องด้วยกัน คือ   เรื่องแรก โคลัมบัสนั้นแท้จริงแล้ว ไม่ได้เป็นผู้ค้นพบทวีปอเมริกาเป็นคนแรก หากแต่กลับเป็นชาวตะวันออกคือ เจิ้งเหอ มหาขันทีนักเดินเรือแห่งราชวงศ์หมิง ดังปรากฏเป็นหลักฐานทั้งบันทึกการเดินทางและแผนที่ที่เ...
26 พฤษภาคม 2020

วัตถุล้ำค่าผ่านบทสนทนาของสองปราชญ์จากสาส์นสมเด็จ ในนิทรรศการใหม่ของกรมศิลปากร

ในขณะที่โควิด-19 ทำให้พิพิธภัณฑ์ในไทยที่ต่างๆ ต้องปิดลงชั่วคราว แต่ภัณฑารักษ์และนักโบราณคดีของกรมศิลปากรต่างร่วมมือร่วมใจกันทำงานเพื่อเตรียมจัดนิทรรศการสำคัญเนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย ประจำปี 2563 เพื่อเตรียมให้ประชาชนได้เข้าชมกันในช่วงชีวิต ‘New Normal’ (ปกติใหม่) โดยนิทรรศการนี้มีชื่อว่า ‘ศิลปวิทยาการจากสาส์นสมเด็จ’ จัดแสดง ณ พระที่นั่งศิวโมกขพิม...
9 พฤษภาคม 2020

“อย่ายอมแพ้ อย่าหมดหวัง” ควีนเอลิซาเบธพระราชทานกำลังใจ ครบรอบ 75 ปีวันชัยในยุโรป

เมื่อวานนี้ (8 พฤษภาคม) สมเด็จพระราชินาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระราชทานกำลังใจเนื่องในโอกาสครบรอบ 75 ปีวันชัยในทวีปยุโรป (VE Day) ซึ่งตรงกับวันที่สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร ผู้เป็นพระราชบิดาของพระองค์ทรงออกอากาศทางวิทยุ หลัง อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำนาซีเยอรมันจบชีวิตลง พร้อมด้วยการยอมจำนนของฝ่ายอักษะ ประกาศชัยชนะสิ้นสุดสงคราม...
8 เมษายน 2020

Vogue Italia ฉบับล่าสุดกับปกสีขาวล้วนครั้งแรก ว่างเปล่าแต่เต็มไปด้วยความหมายในช่วงเวลาประวัติศาสตร์

นิตยสาร Vogue Italia ได้เผยภาพหน้าปกของฉบับเดือนเมษายนเป็นหน้าเปล่า สีขาวล้วนเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ เพื่อแทนความหมายมากมายในช่วงเวลาอันมืดมนของวิกฤตโควิด-19 ที่ประเทศอิตาลีและมนุษยชาติทั่วโลกกำลังเผชิญอยู่ร่วมกัน    ทางนิตยสารได้ให้ความหมายของสีขาวไว้มากมาย อันดับแรกคือ เป็นการแสดงความเคารพต่อสีของชุดปฏิบัติงานของผู้ที่กำลังเสี...
7 มีนาคม 2020

‘ผนงรจตกม’ ย้อนประวัติศาสตร์การต่อต้านในงานโบราณคดี ชีวิตอิสระที่ไม่ยอมตกเป็นทาส

Do you hear the people sing?  ‘คุณได้ยินเสียงผู้คนกู่ร้องไหม  ที่กำลังร้องเพลงของชาวประชาที่โกรธแค้น  มันคือบทเพลงของผู้คน  ผู้จะไม่ยอมเป็นทาสอีกแล้ว’ (แต่งโดย โคลด-มิเชล เชินแบร์ก เพื่อใช้ในการแสดงละครเวทีเรื่อง Les Misérables (เหยื่ออธรรม))   - 1 -   เจมส์ ซี สก็อตต์ นักรัฐศาสตร์และมานุษยวิทยาช...
28 กุมภาพันธ์ 2020

เครื่องมือการเมืองหนึ่งของรัฐทหาร-อาณานิคม คือโบราณสถานและพิพิธภัณฑ์

นับตั้งแต่การรัฐประหาร ประชาชนหลายคนคงเห็นแล้วว่า ‘โบราณคดี’ (ในความหมายของความรู้) ได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองของรัฐบาลทหารในการปลุกกระแสชาตินิยมและการโหยหาอดีต ดังเช่น นโยบายยกเว้นค่าธรรมเนียมการเข้าชมอุทยานประวัติศาสตร์และพิพิธภัณฑ์ เพื่อหวังว่าจะให้ประชาชนซาบซึ้งภูมิใจในชาติ และกลับมาสามัคคีกันอีกครั้ง ผมไม่ได้บอกว่าการเข้าอุทยานฯ และพิพ...
21 กุมภาพันธ์ 2020

ทำไมต้องมีพิพิธภัณฑ์ชาติพันธุ์แห่งชาติ ถอดบทเรียนผ่านไต้หวัน บ้านเดิมของบรรพชนมลายู

ไทเปมักเป็นจุดหมายปลายทางของใครหลายคนที่ไปเที่ยวไต้หวัน แต่น้อยคนจะรู้ว่าก่อนที่คนจีนนับล้านจะอพยพจากแผ่นดินใหญ่อันเป็นผลมาจากปัญหาความขัดแย้งของอุดมการณ์ทางการเมืองแล้วไปก่อตั้งประเทศไต้หวันขึ้นนั้น เกาะแห่งนี้ถือได้ว่าเป็น ‘Homeland’ หรือถิ่นฐานดั้งเดิมหรือต้นกำเนิดของบรรพชนทางภาษาของชาวมลายูในภาคใต้ของไทยอีกด้วย ซึ่งมีประวัติความเป็นมายาวนานหลาย...
17 กุมภาพันธ์ 2020

ประดิษฐานรูปปั้นเจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) ที่เมืองแบรสต์ ฝรั่งเศส หลักฐานมิตรภาพสองประเทศ

เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ศรัณย์ เจริญสุวรรณ เอกอัครราชทูต ณ กรุงปารีส และภริยา พร้อมด้วยหัวหน้าสำนักงานทีมประเทศไทยประจำกรุงปารีสและสำนักงานที่มีเขตอาณาครอบคลุมประเทศฝรั่งเศส และข้าราชการสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงปารีส ได้เดินทางไปยังเมืองแบรสต์ ซึ่งเป็นเมืองท่าตั้งอยู่ทางตะวันตกของฝรั่งเศส เพื่อเตรียมการและเข้าร่วมพิธีประดิษฐานรูปปั้นเจ้าพระยาโกษาป...
15 กุมภาพันธ์ 2020

ชาติพันธุ์ของริชชี่ ‘มูเซอ’ ผู้ลงมาจากหลังคาโลก รุ่นแรกมาในสมัยรัชกาลที่ 5

ถ้า ม้า อรนภา แค่ไล่ริชชี่ให้กลับบ้าน ไม่ใช่กลับดอย คงไม่เป็นกระแสดราม่าเท่านี้ เพราะคำว่า ‘ดอย’ นั้นมันสื่อถึงการเป็นบ้านนอก เป็นบ้านป่าเมืองเถื่อน ดังนั้น เป็นเรื่องที่ต้องระมัดระวังในการใช้ถ้อยคำ   ในยุคสมัยหนึ่งช่วงกระแสคอมมิวนิสต์แรงๆ คนไทยเหยียดชาวเขาชาวดอยมาก บางคนถึงกับมองว่า ‘ชาวเขา’ นั้นไม่ใช่ ‘ชาวเรา’ เพราะเอาคำมาเล่นกับความหม...


Close Advertising
X