×

นโยบายการเงิน

21 มิถุนายน 2024

จีนประกาศผ่อนคลายนโยบายการเงิน แต่ย้ำชัดไม่พิจารณาปรับลดค่าเงินหยวน

สถานการณ์เศรษฐกิจจีน มหาอำนาจทางเศรษฐกิจอันดับสองของโลกรองจากสหรัฐอเมริกา ยังคงต้องเผชิญกับแรงกดดันที่มีแนวโน้มทวีความรุนแรงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยตลาดที่อยู่อาศัยอยู่ในภาวะที่ต้องกระเสือกกระสน ขณะที่ผลลัพธ์ภาคการผลิตก็ไม่เป็นไปตามที่คาดการณ์ไว้ ส่วนท่าทีนโยบายของธนาคารกลางจีนยังคงใช้มาตรการผ่อนคลายทางการเงิน สวนทางกับบรรดาธนาคารกลางของประเทศอื่นๆ ส...
12 มิถุนายน 2024

เมื่อเศรษฐกิจ นโยบายการเงิน และตลาดทุน สวนทาง

ตลาดกระทิงปี 2024 เป็นขาขึ้นที่น่าสงสัย   สหรัฐอเมริกาเริ่มปีด้วยดอกเบี้ยนโยบาย 5.50% สูงที่สุดในรอบ 24 ปี ตลาดเชื่อว่าเศรษฐกิจไม่น่าจะทนต้นทุนนี้ไหว Fed อาจต้องลดดอกเบี้ย 150-200 bps   ผ่านมาไม่ถึงครึ่งปี มุมมองเหล่านี้กลับสวนทางไปหมด ไม่ใช่แค่เศรษฐกิจที่แข็งแกร่งเกินคาด ตลาดหุ้นก็ทำ All Time High แม้ Fed อาจไม่ลดดอกเบี้ยในปี...
19 เมษายน 2024

IMF ออกโรงเตือนบรรดาแบงก์ชาติในเอเชีย อย่าให้น้ำหนักกับ Fed มากเกินไปขณะวางแนวนโยบายของตนเอง

กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ได้ส่งสารเตือนถึงบรรดาธนาคารกลางของประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชีย โดยระบุให้แบงก์ชาติเหล่านี้ไม่ควรยึดโยงกับนโยบายธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา (Fed) มากเกินไป ในระหว่างที่กำลังกำหนดแนวนโยบายการเงินของตนเอง   ทั้งนี้ Krishna Srinivasan ผู้อำนวยการ IMF ประจำภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก กล่าวว่า ขณะนี้ทาง IMF แนะนำให้เหล่าธ...
17 เมษายน 2024

เศรษฐกิจร้อน นโยบายการเงินก็ร้อน สงครามยิ่งร้อน

ความผันผวนจากเศรษฐกิจ นโยบายการเงิน และสงคราม กำลังทำให้ตลาดการเงินปั่นป่วน   Bond Yield สหรัฐอเมริกาอายุ 10 ปี พุ่งขึ้นถึง 4.5% สูงที่สุดนับตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนปีก่อน ราคาน้ำมัน WTI เพิ่มขึ้นไม่หยุดจนแตะ 85 ดอลลาร์ต่อบาร์เรล คิดเป็นการปรับตัวขึ้นแล้วกว่า 20% จากต้นปี พร้อมกับราคาทองคำที่ทำจุดสูงสุดใหม่ต่อเนื่องทั้งในรูปเงินบาทและดอลลาร...
ทิศทาง ค่าเงินบาท
26 มีนาคม 2024

นโยบายธนาคารกลางต่างประเทศโทนเปลี่ยน ทิศทางค่าเงินบาทจะเป็นอย่างไรต่อ

ตั้งแต่ต้นปี 2024 ธนาคารกลางต่างประเทศได้ทยอยเปลี่ยนการทำนโยบายการเงิน โดยส่วนใหญ่ได้ส่งสัญญาณทยอยลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงจากในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาที่ได้ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเพื่อต่อสู้กับเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับสูง   อย่างไรก็ตาม มีธนาคารกลางบางประเทศโดยเฉพาะในเอเชียที่ได้ทยอยปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ซึ่งการตัดสินใจดำเนินนโยบายการ...
ดอกเบี้ย
26 มีนาคม 2024

ไตรมาสแรกของปี 2024 ประเทศต่างๆ ‘ขึ้น-ลด’ ดอกเบี้ยเท่าไรกันบ้าง

ปี 2024 นับเป็นอีกปีที่หลายฝ่ายคาดว่าจะเห็นการเปลี่ยนแปลงทางนโยบายการเงิน (Pivot) จากหลายธนาคารกลางทั่วโลก   โดยสัญญาณดังกล่าวก็ชัดขึ้นอีกครั้งเมื่อวันที่ 20 มีนาคมที่ผ่านมา หลังจากธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) ส่งสัญญาณปรับลดอัตราดอกเบี้ย 3 ครั้งในปี 2024 โดยจะปรับลดครั้งละ 0.25% รวม 0.75% หลังการคงดอกเบี้ยที่ 5.25-5.50%   อีกทั้ง F...
22 กุมภาพันธ์ 2024

เปิดเหตุผล ทำไม กนง. จึงมีมติคงดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ 2.5%

ที่ประชุม กนง. ครั้งที่ 1/2567 มีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 2.50% เหตุเศรษฐกิจไทยมีปัญหาเชิงโครงสร้าง ซึ่งการลดอัตราดอกเบี้ยไม่ช่วยแก้ปัญหาการเติบโตต่ำได้ อีกทั้งยังเป็นการใช้ Policy Space ที่มีจำกัดอย่างไม่คุ้มค่า   ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เปิดเผยรายงานการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน หรือ กนง. ครั้งที่ 1/2567 วันท...
Krungthai COMPASS
8 กุมภาพันธ์ 2024

Krungthai COMPASS วิเคราะห์ กนง. มีท่าทีผ่อนคลายมากขึ้น แต่ไม่น่าปรับทิศทางนโยบายการเงินในระยะใกล้

วันนี้ (8 กุมภาพันธ์) Krungthai COMPASS วิเคราะห์ว่า ในการประชุมเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา กนง. ส่งสัญญาณถึงท่าทีที่ผ่อนคลายมากขึ้น แต่ประเมินว่าจะยังไม่ปรับทิศทางของการดำเนินนโยบายการเงินในระยะอันใกล้ เนื่องจากเศรษฐกิจยังอยู่ในทิศทางขยายตัว และ กนง. จำเป็นต้องรอความชัดเจนของข้อมูลต่างๆ ในระยะต่อไป ขณะที่มีความเสี่ยงที่อาจกดดันให้เงินเฟ้อเร่...
เศรษฐา ทวีสิน
5 กุมภาพันธ์ 2024

เศรษฐาจี้แบงก์ชาติ ทำนโยบายการเงินให้สอดประสานคลัง หลัง ‘เงินเฟ้อติดลบ’ ส่งสัญญาณ ‘เศรษฐกิจอ่อนแอ

เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี มองเงินเฟ้อติดลบ 4 เดือนติด เป็นสัญญาณเศรษฐกิจอ่อนแอ และเป็นการเตือนให้รู้ว่านโยบายการคลังและนโยบายการเงินจะต้องสอดประสานกัน   วันนี้ (5 กุมภาพันธ์) เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก และ X โดยระบุว่า การที่เงินเฟ้อติดลบมา 4 เดือนติดต่อกัน ย่อมเป็นสัญญาณความอ่อนแอ...
นโยบายการเงินโลก
25 ธันวาคม 2023

นโยบายการเงินโลกกับความคาดหวังของตลาดทุนปี 2024

‘นโยบายการเงิน’ เป็นประเด็นสำคัญต่อโลกอย่างมากในปี 2024   เพราะแนวโน้มเศรษฐกิจของประเทศหลักชะลอตัวลง จึงควรผ่อนคลายทางการเงินบ้าง อย่างไรก็ดี ความคาดหวังของตลาดดูจะนำหน้าทั้งผู้กำหนดนโยบายและเศรษฐกิจไปมาก เห็นได้จากราคาสินทรัพย์ในตลาดการเงินที่ปรับตัวขึ้นก่อนอย่างรวดเร็ว   ถ้านโยบายการเงินผ่อนคลายได้ไม่เท่ากับความคาดหวัง ความผ...


Close Advertising
X