×

ดาราศาสตร์

จันทรุปราคาเงามัว
9 มกราคม 2020

สดร. ชวนดู ‘จันทรุปราคาเงามัว’ เริ่มหลังเที่ยงคืนวันที่ 10 ถึงรุ่งเช้าวันที่ 11 ม.ค. นี้

วันนี้ (9 มกราคม) ศุภฤกษ์ คฤหานนท์ หัวหน้างานบริการวิชาการทางดาราศาสตร์ของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สดร. เปิดเผยว่าช่วงหลังเที่ยงคืนวันที่ 10 เข้าสู่รุ่งเช้าวันเสาร์ที่ 11 มกราคม 2563 จะเกิดปรากฏการณ์จันทรุปราคาเงามัวในช่วงเวลาประมาณ 00.08-04.13 น. ตามเวลาในประเทศไทย เงามัวจะบังมากที่สุดในเวลาประมาณ 02.10 น. หากสังเกตด้วยตาเ...
ดาวเคราะห์
8 มกราคม 2020

รู้จัก TOI 700 d ดาวเคราะห์ต่างระบบที่มีสภาพเหมาะสมกับการก่อกำเนิดชีวิตที่สุดที่เพิ่งถูกค้นพบ

ยานอวกาศนักล่าดาวเคราะห์ต่างระบบ ‘TESS’ ค้นพบเป้าหมายที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง ล่าสุดพบระบบดาวที่มีดาวเคราะห์ 3 ดวงโดยดาวเคราะห์นึ่งในนั้นมีลักษณะใกล้เคียงกับโลกของเราอย่างไม่น่าเชื่อ   หลายปีที่ผ่านมามักมีข่าวการค้นพบดาวเคราะห์ต่างระบบ หรือดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ (Exoplanet) จำนวนมากกว่า 4,100 ดวง* แต่ดาวเคราะห์เหล่านี้โดยส่วนใหญ่มักมีสภา...
ฝนดาวตกควอดรานติดส์
4 มกราคม 2020

ฝนดาวตกควอดรานติดส์ ต้อนรับทศวรรษใหม่ 2020

ทีมช่างภาพ THE STANDARD มุ่งหน้าสู่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เพื่อบันทึกภาพปรากฏการณ์ฝนดาวตกควอดรานติดส์ ซึ่งจะเกิดช่วงระหว่างวันที่ 28 ธันวาคม ถึง 12 มกราคมของทุกปี สำหรับปี 2563 มีอัตราการตกสูงสุด   หลังเที่ยงคืนของวันที่ 3 มกราคม ถึงรุ่งเช้าวันที่ 4 มกราคม ช่วงที่เหมาะแก่การสังเกตการณ์ที่สุด คือเวลาประมาณ 02.30 น. เป็นต้นไป ศูนย์กลางการกร...
วันเหมายัน
22 ธันวาคม 2019

22 ธันวาคม 2562 วันเหมายัน

วันนี้เป็นวันเหมายันที่กลางวันจะสั้นที่สุด และกลางคืนจะยาวนานที่สุดในรอบปี    โดยปีนี้วันเหมายันตรงกับวันที่ 22 ธันวาคม เป็นวันที่ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงไปทางใต้มากที่สุด และตกทางทิศตะวันตกเฉียงไปทางใต้มากที่สุด ส่งผลให้ช่วงเวลากลางวันสั้นที่สุดและกลางคืนยาวที่สุดในรอบปี หรือที่คนไทยเรียกว่า ‘ตะวันอ้อมข้าว’   ...
ดวงจันทร์ของดาวเสาร์
8 ตุลาคม 2019

นักดาราศาสตร์ชวนตั้งชื่อดวงจันทร์ของดาวเสาร์ ที่เพิ่งถูกพบใหม่ถึง 20 ดวง

เมื่อวานที่ผ่านมา (7 ตุลาคม) ศูนย์ดาวเคราะห์น้อย (Minor Planet Center) ซึ่งเป็นหน่วยงานในสหพันธ์ดาราศาสตร์สากล (IAU) เผยว่า   ขณะนี้ได้มีการค้นพบดวงจันทร์ดวงใหม่ของดาวเสาร์เพิ่มขึ้นอีก 20 ดวง ส่งผลให้ดาวเสาร์เป็น ‘ราชาแห่งดวงจันทร์’ ดวงใหม่ของระบบสุริยะ มีดวงจันทร์เป็นบริวารมากถึง 82 ดวง แซงหน้าดาวพฤหัสบดีที่มีดวงจันทร์เป็นบริวาร 79 ดวง ...
ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ
14 กันยายน 2019

ว่างๆ ไปเดินท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ เมื่อมีหนังอุกกาบาตถล่มโลกให้ดูตลอดเดือนกันยายน

อย่าเพิ่งเมินหน้าหนีเวลาพูดถึงท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ หรือศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา สถานที่ให้ความรู้ทางด้านดาราศาสตร์ย่านเอกมัย เพราะเดือนนี้พวกเขามีภาพยนตร์ดีๆ มานำเสนอ ได้แก่ การฉายภาพยนตร์เต็มโดมจากเครื่องฉายดาวและสื่อมัลติมีเดียในชื่อเรื่อง อุกกาบาตถล่มโลก (Impact Earth) ที่บอกเล่าเรื่องราวของสะเก็ดดาวที่ทำให้เกิดแสง เมื่อการเผาไหม้ในชั้นบรรยา...
สิ่งมีชีวิตนอกโลก
12 กันยายน 2019

นักดาราศาสตร์พบน้ำบนดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะเป็นครั้งแรก คาดอาจนำไปสู่การค้นพบสิ่งมีชีวิตนอกโลก

เมื่อวานนี้ (11 ก.ย.) ทีมนักดาราศาสตร์จาก University College London (UCL) ของสหราชอาณาจักร เผยข้อมูลการค้นพบครั้งสำคัญในวารสาร Nature Astronomy ระบุว่าดาว K2-18b ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะมีน้ำเป็นองค์ประกอบสำคัญของชั้นบรรยากาศ นับเป็นการค้นพบน้ำบนดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะที่โคจรอยู่ในระยะที่ไม่ห่างจากดาวฤกษ์มากจนเกินไป และยังคงเอื้อต่อการดำรงอยู่ของสิ่...
Oscar of science
6 กันยายน 2019

ทีมนักวิทยาศาสตร์ผู้อยู่เบื้องหลังภาพหลุมดำภาพแรกของมวลมนุษยชาติ คว้ารางวัล Oscar of science

เมื่อวานที่ผ่านมา (5 ก.ย.) สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่าทีมนักวิทยาศาสตร์ 347 ชีวิตผู้อยู่เบื้องหลังภาพหลุมดำภาพแรกของมวลมนุษยชาติ คว้ารางวัล Breakthrough Prize in Fundamental Physics หรือรู้จักกันในชื่อรางวัล Oscars of science พร้อมเงินรางวัลกว่า 3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ราว 92 ล้านบาท) นับเป็นความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่ในวงการวิทยาศาสตร์และดาราศาสตร์โลก ...
Global heading for Point of no return
30 พฤษภาคม 2019

ถ้าโลกใบนี้อยู่ไม่ได้ พวกเราเหล่ามวลมนุษย์จะย้ายไปอยู่ที่ไหนกัน

สภาพภูมิอากาศโลกทุกวันนี้เลวร้ายลงทุกที สภาวะโลกร้อนที่มนุษย์เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องส่งผลให้อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดการละลายของน้ำแข็งขั้วโลก ระดับน้ำทะเลที่เพิ่มสูงขึ้นก็เริ่มกัดเซาะเมืองชายฝั่งและท่วมพื้นที่ต่ำ น้ำในมหาสมุทรที่อุ่นขึ้นทำให้พายุหมุนเขตร้อนมีความรุนแรงขึ้น สภาพอากาศแล้ง ไฟป่า คลื่นความร้อน คลื่นความหนาวเย...
หลุมดำ
11 เมษายน 2019

ครั้งแรกของมวลมนุษยชาติ! นักดาราศาสตร์เผยภาพหลุมดำจากกาแล็กซีอันไกลโพ้น

10 เมษายน 2019 มนุษยชาติได้เห็นภาพของ ‘หลุมดำ’ เป็นครั้งแรก หลังทีมนักดาราศาสตร์จากโครงการ Event Horizon Telescope เผยแพร่ภาพหลุมดำขนาดใหญ่ใจกลางกาแล็กซี Messier 87 (M87) ซึ่งอยู่ห่างจากโลกราว 55 ล้านปีแสง ถ่ายภาพโดยใช้เครือข่ายกล้องโทรทรรศน์วิทยุจากหอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ 8 แห่งทั่วโลก ...


Close Advertising