×

ดาราศาสตร์

2 กุมภาพันธ์ 2023

นักฟิสิกส์พบวิธีการใช้คลื่นความโน้มถ่วงค้นหาจุดเริ่มต้นของกาลเวลา

เมื่อเริ่มกำเนิดเอกภพในเหตุการณ์ ‘บิ๊กแบง’ จักรวาลเริ่มมีแรงพื้นฐานทั้งสี่ จากนั้นอนุภาคมูลฐานต่างๆ ก็เริ่มก่อกำเนิดขึ้น แต่ทั้งหมดยังเต็มไปด้วยความมืดมิดจวบจนอนุภาคโฟตอนแรก หรือ ‘แสง’ กำเนิดตามมา    นั่นคือเหตุการณ์เมื่อ 13,800 ล้านปีก่อน นักฟิสิกส์ต่างพยายามศึกษาจักรวาลในช่วงเวลาของการก่อกำเนิดดังกล่าว แต่ก็ยังไม่มีเครื่องมือที่เห...
Gaia BH1
7 พฤศจิกายน 2022

พบ ‘Gaia BH1’ หลุมดำที่อยู่ใกล้โลกที่สุดเท่าที่เคยเจอมา

ในจักรวาลมีเทหวัตถุที่น่าสนใจมากมาย หนึ่งในนั้นคือ ‘หลุมดำ’ เทหวัตถุทรงพลังที่แม้แต่แสงก็หนีออกมาจากแรงโน้มถ่วงอันมหาศาลของมันไม่ได้   ล่าสุดทีมงานของ ดร.คารีม เอล-บาดรี จากศูนย์ดาราศาสตร์ฟิสิกส์มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดและสมิธโซเนียน ได้ประกาศการค้นพบหลุมดำชนิดมวลดาวฤกษ์ที่มีตำแหน่งอยู่ใกล้โลกมากที่สุด ทำลายสถิติของทุกหลุมนับจากอดีตที่ผ่านมา...
เนบิวลานายพราน
14 กันยายน 2022

เจมส์ เว็บบ์ ปล่อยภาพ ‘เนบิวลานายพราน’ เผยรายละเอียดสุดคมชัด

เรียกได้ว่าสร้างปรากฏการณ์อย่างต่อเนื่องสำหรับกล้องโทรทรรศน์อวกาศ เจมส์ เว็บบ์ โดยล่าสุดนั้นได้ปล่อยภาพของเนบิวลานายพราน (Orion Nebula) ที่เผยให้เห็นรายละเอียดที่มีความคมชัดสูงมากกว่าที่กล้องโทรทรรศน์ในอดีตเคยบันทึกไว้ได้   NASA ร่วมกับองค์การอวกาศยุโรป (ESA) องค์การอวกาศแคนาดา (CSA) และทีมนักวิทยาศาสตร์ PDRs4All เปิดเผยภาพอันน่าตื่นตาตื...
เนบิวลาทารันทูลา
7 กันยายน 2022

เจมส์ เว็บบ์ ปล่อยภาพสุดตื่นตาของเนบิวลาทารันทูลา

วานนี้ (6 กันยายน) NASA ได้ปล่อยภาพใหม่อันน่าตื่นตาของเนบิวลาทารันทูลา (Tarantula Nebula) หรือที่รู้จักในชื่อ 30 Doradus ซึ่งถ่ายโดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   เนบิวลาทารันทูลาอยู่ห่างจากโลกของเราออกไป 161,000 ปีแสงในเมฆแมเจลแลนด์ใหญ่ (Large Magellanic Cloud) ซึ่งเป็นกาแล็กซีบริวารของกาแล็กซีทางช้างเผือก โดยเป็นเนบิวลาที่มีขนาดใหญ่...
5 กันยายน 2022

‘ท่องไปในดวงดาว’ เปิดไทม์ไลน์ย้อนดูผลงานน่าตื่นเต้นจาก เจมส์ เว็บบ์

NASA ได้ปล่อยกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ขึ้นสู่ห้วงอวกาศเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2021 เพื่อรับช่วงต่อจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลที่กำลังจะปลดประจำการ    เวลาผ่านไปไม่ถึง 1 ปี เจมส์ เว็บบ์ ก็ได้สร้างความตื่นเต้นให้กับแวดวงดาราศาสตร์ (และผู้ที่คลั่งไคล้จักรวาลอย่างพวกเรา) แบบต่อเนื่อง ด้วยการปล่อยภาพชุดสุดสวยของดวงดาวบนเอกภพ รวมถ...
ทางช้างเผือก
2 กันยายน 2022

ทางช้างเผือกบนขอบฟ้าแม่จันใต้

ช่างภาพ THE STANDARD เก็บภาพทางช้างเผือกในคืนมืดสนิท ปรากฏแสงสว่างของดาวฤกษ์ ถูกถ่าย ณ ระดับความสูง 1,350 เมตร หมู่บ้านแม่จันใต้ จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 1 กันยายนที่ผ่านมา เป็นของขวัญจากพื้นที่ห่างไกล มาช่วยส่งกำลังใจให้คนเมืองได้หยุดพักและดื่มด่ำกับวันหยุดสุดสัปดาห์     เรื่อง: ชาคร ฉายเพชร ภาพ: ศักดิภัท ประพันธ์ว...
NASA Artemis I
29 สิงหาคม 2022

NASA ยกเลิกการปล่อยจรวดในภารกิจ Artemis I วันนี้ หลังพบปัญหาเครื่องยนต์ขัดข้อง

NASA ประกาศยกเลิกการปล่อยจรวด Space Launch System (SLS) ในวันนี้ เนื่องจากพบปัญหาเครื่องยนต์ขัดข้อง โดย NASA แจ้งว่า ทีมงานจะรวบรวมข้อมูลเพื่อดำเนินการแก้ไขปัญหาต่อไป และจะแจ้งกำหนดการปล่อยจรวดใหม่ในอนาคต   เดิมทีนั้นวัตถุประสงค์หลักของภารกิจ Artemis I คือการทดสอบการทำงานของจรวดยักษ์ SLS รวมถึงยาน Orion ซึ่งจะใช้บรรทุกนักบินอวกาศขึ้นสู่อวกาศ...
สถานีอวกาศรัสเซีย
16 สิงหาคม 2022

รัสเซียเผยโฉมแบบจำลอง สถานีอวกาศ ของตัวเอง หลังประกาศถอนตัวจากสถานีอวกาศนานาชาติ

วานนี้ (15 สิงหาคม) หน่วยงานอวกาศของรัสเซียได้เผยโฉมแบบจำลองของ สถานีอวกาศ ที่รัสเซียเตรียมสร้างขึ้น ซึ่งถือเป็นการส่งสัญญาณว่า รัสเซียเอาจริงกับการถอนตัวออกจากการเป็นสมาชิกของสถานีอวกาศนานาชาติ (ISS) หลังปี 2024 และจะเดินหน้าสร้างโครงการสถานีอวกาศของตัวเอง   องค์การอวกาศสหพันธรัฐรัสเซีย หรือ Roscosmos ได้นำเสนอแบบจำลองสถานีอวกาศที่มีชื่...
NARIT Science Week 2022
12 สิงหาคม 2022

ชวนชมภาพยนตร์ดาราศาสตร์ หลากหลายเรื่องในสัปดาห์ ‘NARIT Science Week 2022’ วันที่ 15-21 สิงหาคม 2565

ใครที่กำลังมองหากิจกรรมใหม่แทนการเดินห้าง ช้อปปิ้ง เที่ยวแกลเลอรีในวันหยุด เราแนะนำให้คุณลองเช็กลิสต์ภาพยนตร์ดาราศาสตร์ แล้วปักหมุดยังหอดูดาวใกล้บ้าน    เนื่องจากสัปดาห์หน้า วันที่ 15-21 สิงหาคม 2565 สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ หรือที่เราคุ้นหูกันในชื่อ NARIT จัดงาน NARIT Science Week 2022 ชวนทั้งเด็กและผู้ใหญ่มาเปิดโลกการเรียนรู้...
การหมุนของโลก
9 สิงหาคม 2022

โลกทำสถิติใหม่ หมุนเร็วขึ้น 1.59 มิลลิวินาที เกิดวันที่สั้นที่สุดเมื่อ 29 มิถุนายน 2022

วานนี้ (8 สิงหาคม) สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า โลกได้ทำสถิติใหม่ด้วยการหมุนเร็วขึ้นราว 1.59 มิลลิวินาที ส่งผลให้เกิดวันที่เวลาสั้นที่สุดเมื่อวันที่ 29 มิถุนายนที่ผ่านมา นับเป็นสถิติที่สั้นที่สุดล่าสุด ตั้งแต่ที่นาฬิกาอะตอม ซึ่งเป็นนาฬิกามาตรฐานเวลาได้รับการคิดค้นขึ้นในช่วงทศวรรษที่ 1950   โดยทั่วไปแล้วโลกจะใช้ระยะเวลาในการหมุนรอบแกนตัวเ...

Close Advertising