×

จิตวิทยา

โรคสมาธิสั้น
10 สิงหาคม 2019

เจ้าตัวเล็กเป็นโรคสมาธิสั้นหรือเปล่า?

โรคสมาธิสั้นเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ หนึ่งในนั้นคือการใช้เทคโนโลยีมากเกินไป เด็กที่ใช้สมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ตติดต่อกันเป็นเวลานานอาจเป็นโรคสมาธิสั้นได้ ซึ่งมีผลกระทบในระยะยาวต่อความคิด การวางแผน และการจัดการบริหารชีวิตของเด็กในอนาคต นอกจากนั้นยังมีการอ้างอิงข้อมูลของกรมสุขภาพจิตที่เผยว่า การใช้สมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต ส่งผลให้เด็กเป็นสมาธิสั้น โอกาสที่เ...
Regret Actions and Inactions
17 กรกฎาคม 2019

เสียใจที่ ‘ทำ’ กับเสียใจที่ ‘ไม่ได้ทำ’ แบบไหนปวดใจมากกว่ากัน

สมมติว่าคุณบินมาประชุมที่ประเทศสิงคโปร์ ระหว่างที่คุณกำลังประชุมอยู่ เกิดเหตุขัดข้องกับเครื่องฉายโปรเจกเตอร์ ซึ่งส่งผลทำให้การประชุมเป็นที่ล่าช้ากว่าที่คุณกำหนดเอาไว้ หลังจากที่คุณประชุมเสร็จเรียบร้อยแล้ว คุณก็รีบนั่งรถแท็กซี่เพื่อที่จะบึ่งตรงไปยังสนามบินชางงี เพื่อจับเครื่องบินเครื่องสุดท้ายของคืน และจะได้บินกลับบ้านของคุณที่กรุงเทพฯ  &nbs...
Empathic Communication
27 พฤษภาคม 2019

เมื่อมองอย่างเห็นใจ เราจะเข้าใจกันและกัน Empathic Communication ทักษะที่จำเป็นที่สุดของสังคมเวลานี้

ในสังคมหลายๆ ระดับที่มีความขัดแย้ง ตั้งแต่หน่วยที่เล็กที่สุดในบ้านอย่างครอบครัว ไปจนถึงหน่วยย่อยที่โตขึ้นอย่างองค์กรที่ทำงาน หรือสังคมที่กว้างใหญ่ไปกว่านั้น ความสัมพันธ์ของผู้คนดูเหมือนจะเปราะบาง บ่อยครั้งที่เรารู้สึกว่าแม้พยายามที่จะสื่อสาร แต่กลับไม่เข้าใจตรงกันสักที ส่งผลเป็นรอยร้าวและบาดแผลต่อทั้งความสัมพันธ์ สุขภาพจิต และประสิทธิภาพในการทำงาน ...
กรมสุขภาพจิต
14 พฤษภาคม 2019

กรมสุขภาพจิตเผยผลสำรวจ พบผู้ปกครองยุคนี้ 50.2% เครียดกับค่าเทอมบุตรหลาน

กรมสุขภาพจิตเผย เป็นห่วงผู้ปกครองยุคใหม่ หลังพบกลุ่มผู้ปกครองถึงร้อยละ 50.2 มีความเครียดเกี่ยวกับเรื่องค่าเทอมบุตรหลาน ขณะที่ร้อยละ 50.6 ยังกังวลกับค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันเพิ่มมากขึ้น ทำให้การเงินติดขัด   เมื่อวานนี้ (13 พ.ค.) นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต อธิบดีกรมสุขภาพจิต เผยว่า จากผลสำรวจความคิดเห็นในการวัดระดับความเครียดของผู้ปกครองช่ว...
men Sexting
7 เมษายน 2019

ล้วงลึกพฤติกรรม ‘อวดของลับ’ ของคุณผู้ชายที่สาวๆ ไม่เข้าใจ

แม้วิจัยจะเผยว่า การส่งข้อความลามก (Sexting) เป็นเรื่องปกติสำหรับคนยุคนี้ แต่เบื้องลึกเบื้องหลังพฤติกรรมการส่งรูป ‘ของลับ’ ของหนุ่มๆ ก็ยังคงเป็นเรื่องที่น่าฉงน ส่วนเหล่าสาวๆ ในฐานะผู้รับข้อความ อาจมีบางกลุ่มที่ชอบ หรือบางกลุ่มที่ช็อก   แล้วในมุมของผู้ส่งล่ะ เคยสงสัยไหมว่าหนุ่มๆ เขามีเหตุผลอะไรถึงชอบส่งรูปน้องชายตัวเองกันนัก?   ...
election-results-can-hurt-your-health-cover
25 มีนาคม 2019

รับมือกับความโกรธอย่างไรไม่ให้สุขภาพจิตพัง หลังผลการเลือกตั้งไม่เป็นอย่างที่หวัง

เมื่อพวกเราผิดหวังหรือต้องเผชิญหน้ากับการเปลี่ยนแปลงที่ไม่พึงประสงค์ อารมณ์และสิ่งที่อยู่ในใจตอนนี้คงหนีไม่พ้นความโศกเศร้าเสียใจ หวาดหวั่น เกรงกลัว และสับสน เรื่อยไปจนถึงความรู้สึกโมโหโกรธากับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น หลายคนเลือกที่จะนิ่งเฉยและปล่อยวาง ในขณะที่บางคนกดปุ่มทำลายล้างตัวเองด้วยการกระทำหรือการเปล่งวาจาที่ขาดสติ บูลลี่จนคนรอบข้างเอือมระอาหรือมอ...
Backup Relationship
1 มีนาคม 2019

สำรวจสถานะของ ‘ตัวสำรอง’ ใน Backup Relationship ความสัมพันธ์แบบเผื่อเหลือเผื่อขาดที่ควรรู้จัก

“ถ้าเราเลิกกับเขา แล้วเรามาคบกันนะ” ประโยคชวนฝันที่หลายๆ คนเคยได้ยิน ประโยคที่ทำให้การรอคอยใครสักคนหนึ่งกลายเป็นเรื่องโรแมนติก เพียงเพราะว่าผู้ฟังนั้นตั้งความหวังไว้แล้วว่า เขาจะได้เป็นคนที่ถูกเลือกในสักวันหนึ่ง ได้เคียงคู่กันเป็นคู่รักที่ถูกต้องตามกรอบสังคม แต่เมื่อไรกันที่คุณได้ยินประโยคนี้ครั้งล่าสุด? แล้วทุกวันนี้ได้คบกันหรือยัง? ถ้ายังไม่ได...
6 กุมภาพันธ์ 2019

ภาพไข่ที่คว้ายอดไลก์สูงสุดในอินสตาแกรมกว่า 52.3 ล้านครั้ง เริ่มมีรอยร้าว เผยแคมเปญเกี่ยวกับภาวะสุขภาพจิต

เมื่อไม่นานมานี้ @world_record_egg ในอินสตาแกรมโพสต์ภาพไข่ไก่ธรรมดา หวังกวาดยอดไลก์ทำลายสถิติเหนือดาราเซเลบริตี้ชื่อดังอย่าง ไคลี เจนเนอร์ ที่โพสต์ภาพเธอกับสตอร์มี ลูกสาวคนใหม่ของเธอ ที่มีคนกดไลก์ภาพมากกว่า 18 ล้านครั้ง นับตั้งแต่วันที่ 5 มกราคมที่ผ่านมา ภาพไข่ทยอยได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก และทุบสถิติเป็นภาพที่คว้ายอดไลก์สูงสุดในอินสตาแกรมกว่า 52....
5 กุมภาพันธ์ 2019

วิทยาศาสตร์เบื้องหลังแรงขับเคลื่อน: ทำไมเราถึงไม่มีแรงบันดาลใจในการทำสิ่งต่างๆ

คำว่า ‘แรงขับเคลื่อน’ ในที่นี้มาจาก Motivation ซึ่งต้องถือว่าเป็นเรื่องสำคัญมากๆ สำหรับทั้งการทำงานและการใช้ชีวิต   ที่จริงแล้วพูดได้ถึงขั้นที่ว่าแรงขับเคลื่อนคือ ‘เหตุผล’ ที่เราทำอะไรบางอย่างด้วยซ้ำ มันทำให้เราเกิดความตั้งใจมุ่งมั่นที่จะเดินไปสู่เป้าหมาย แรงขับเคลื่อนไม่ได้แค่ ‘ผลักดัน’ ให้เราทำสิ่งต่างๆ เท่านั้นนะครับ แต่มันยังทำให้เรา...
30 ธันวาคม 2018

‘โทรศัพท์ใครดัง?’ Phantom Ringing Syndrome อาการใหม่ของคนยุคมิลเลนเนียล

ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าการใช้ชีวิตในปัจจุบันก็ปวดเศียรจะแย่ ไหนจะหายไปพักกลางวัน 30 นาที เพื่อค้นพบว่าอีเมลงานเด้งเข้ามารัวๆ มีเมสเสจตัวแดงที่ยังไม่ได้อ่านในกรุ๊ปไลน์ออฟฟิศอีกรวมแล้วหลักร้อย ไหนจะต้องตอบเมสเสจเพื่อนในเฟซบุ๊กเมสเซนเจอร์ว่าสรุปจะไปงานแต่งเพื่อนด้วยกันไหม นี่ยังไม่รวมข้อความในวอทซ์แอป หรือใน Tinder ของคนที่คุณแมตช์เมื่อ 3 วันก่อนที่ยังหาเว...


Close Advertising