×

กาแล็กซีทางช้างเผือก

19 เมษายน 2024

ค้นพบ Gaia BH3 หลุมดำดาวฤกษ์มวลมากที่สุดในทางช้างเผือก

นักดาราศาสตร์ตรวจพบหลุมดำ Gaia BH3 หลุมดำดาวฤกษ์มวลมากที่สุดในทางช้างเผือก อยู่ห่างโลกไปประมาณ 2,000 ปีแสง   หลุมดำดาวฤกษ์ หรือ Stellar Black Hole เป็นหลุมดำที่เกิดจากการยุบตัวภายใต้แรงโน้มถ่วงของดาวฤกษ์ โดยมักพบว่ามีมวลระหว่าง 5-10 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ อย่างไรก็ตาม Gaia BH3 มีมวลมากถึง 33 มวลดวงอาทิตย์ ทำลายสถิติเดิมของหลุมดำ Cygnus X-1...
19 มกราคม 2024

พบวัตถุปริศนาในทางช้างเผือก อาจเป็นดาวนิวตรอนที่ใหญ่ที่สุดหรือหลุมดำที่เล็กที่สุด

คณะนักดาราศาสตร์นานาชาติพบวัตถุปริศนาในทางช้างเผือก ที่อาจเป็นดาวนิวตรอนที่มีมวลมากสุดหรือเป็นหลุมดำขนาดเล็กที่สุด   การค้นพบครั้งนี้เกิดขึ้นกับวัตถุที่โคจรอยู่รอบพัลซาร์ที่มีอัตราการกะพริบในระดับมิลลิวินาที (Millisecond Pulsar) ชื่อ PSR J0514-4002E ในกระจุกดาวทรงกลม NGC 1851 ซึ่งอยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 40,000 ปีแสง   วัตถุที่ถ...
4 ธันวาคม 2023

กล้องเจมส์ เว็บบ์ พบโมเลกุลการเกิดดาวเคราะห์หินในบริเวณสภาพแวดล้อมรุนแรงของทางช้างเผือก

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ได้ตรวจพบโมเลกุลสำคัญสำหรับการกำเนิดดาวเคราะห์หิน ในบริเวณที่มีสภาพแวดล้อมปั่นป่วนรุนแรงที่สุดแห่งหนึ่งในกาแล็กซีทางช้างเผือก   นักดาราศาสตร์จากนานาประเทศได้ใช้กล้องเจมส์ เว็บบ์ ศึกษาบริเวณจานกำเนิดดาวเคราะห์ 15 แห่ง ภายในเนบิวลาล็อบสเตอร์ หรือวัตถุ NGC 6357 ซึ่งเป็นเนบิวลาที่อยู่ห่างจากโลกไปราว 5,500 ปีแส...
เจมส์ เว็บบ์
23 กุมภาพันธ์ 2023

เจมส์ เว็บบ์ ค้นพบกาแล็กซีเก่าแก่ขนาดใหญ่ 6 กาแล็กซี ที่อาจทำให้มนุษย์ต้องทำความเข้าใจใหม่เกี่ยวกับเอกภพในยุคแรกเริ่ม

เป็นอีกครั้งที่กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ได้ยกระดับองค์ความรู้ของมนุษย์เกี่ยวกับจักรวาลในยุคแรกเริ่ม โดยในครั้งนี้นักดาราศาสตร์ระบุว่า ข้อมูลที่ได้จากเจมส์ เว็บบ์ เผยให้เห็นวัตถุที่คาดว่าเป็นกาแล็กซีขนาดใหญ่ 6 กาแล็กซีที่มีมวลพอๆ กับกาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา โดยถือกำเนิดขึ้นประมาณ 540-770 ล้านปี หลังจากปรากฏการณ์บิ๊กแบง (เมื่อ 1.38 หมื่นล้าน...
หลุมดำ
15 มิถุนายน 2022

กล้องโทรทรรศน์ฮับเบิลค้นพบ ‘หลุมดำ’ พเนจรในกาแล็กซีทางช้างเผือก

สื่อต่างประเทศรายงานวานนี้ (14 มิถุนายน) ว่ากล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลตรวจพบ ‘หลุมดำ’ ที่ล่องลอยอย่างโดดเดี่ยวบนกาแล็กซีทางช้างเผือกของเราได้เป็นครั้งแรก   ทีมนักวิจัยที่ทำการสำรวจเทหวัตถุดังกล่าวแบ่งออกเป็น 2 ทีมด้วยกัน โดยทีมแรกซึ่งนำโดย ไคแลช ซาฮุ (Kailash Sahu) นักวิทยาศาสตร์จากสถาบันวิทยาการกล้องโทรทรรศน์อวกาศในบัลติมอร์ ประเมินว่าห...

Close Advertising