×

การเกษตร

23 มิถุนายน 2023

ธรรมชาติลงโทษ ‘เอลนีโญ’ ธีมใหญ่ความเสี่ยงเศรษฐกิจโลกและไทย ผลกระทบไปไกลถึงไหนบ้าง?

‘ความวัวไม่ทันหาย ความควายเข้ามาแทรก’ สุภาษิตสำนวนไทยนี้คงเป็นตัวสรุปได้อย่างดีกับสถานการณ์ความท้าทาย ณ ปัจจุบัน ในขณะที่โลกกำลังหาทางฟื้นตัวจากผลกระทบของโควิด สงครามรัสเซีย-ยูเครน และปัญหาเอลนีโญรอบใหม่ก็กลับมาอีกครั้งในรอบ 4 ปี ตามประกาศอย่างเป็นทางการของสหรัฐอเมริกา   แม้ปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงทางสภาพอากาศระหว่างเอลนีโญ-ลานีญา จะเคยเ...
พ.ร.บ.ภาษี
16 มิถุนายน 2023

ช่องโหว่ใน พ.ร.บ.ภาษีฯ จุดเริ่มต้นของการทำลายธรรมชาติ

สาธารณชนชาวไทยอาจยังไม่ทราบว่า พ.ร.บ.ภาษีที่ดินฉบับใหม่ เรียกได้ว่าเป็นข้อกฎหมายที่นำไปสู่การทำลายธรรมชาติมากที่สุดในศตวรรษนี้   หลายประเทศทั่วโลกจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างกันเป็นปกติ เพราะถือว่าเป็นเรื่องที่ดีในทางเศรษฐศาสตร์ เหตุผลเดียวกันนี้เองที่ทำให้รัฐสภาไทยผ่านร่างกฎหมายดังกล่าวในพุทธศักราช 2562 และค่อยๆ เริ่มบังคับใช้ตั้งแ...
ธปท
14 มิถุนายน 2023

แบงก์ชาติส่งสัญญาณขึ้นดอกเบี้ยต่อ มองเงินเฟ้อยังคงมีความเสี่ยงด้านสูง ต้องจับตาแม้กลับเข้ากรอบแล้ว

ธปท. ส่งสัญญาณเดินหน้าขึ้นดอกเบี้ยต่อ ชี้เงินเฟ้อในระยะปานกลางยังคงมีความเสี่ยงด้านสูงที่ต้องระมัดระวัง จับตาปรากฏการณ์เอลนีโญกระทบผลผลิตภาคเกษตร เพิ่มแรงกดดันเงินเฟ้อหมวดอาหาร   ปิติ ดิษยทัต ผู้ช่วยผู้ว่าการ สายนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กล่าวในงาน Monetary Policy Forum ครั้งที่ 2/2566 ว่า แม้สถานการณ์เงินเฟ้อของไทยในปัจจุ...
SCB CIO
12 มิถุนายน 2023

SCB EIC คาด นโยบายรัฐบาลใหม่ลุยขึ้นค่าแรงทำธุรกิจเกษตรกระทบหนัก แนะธุรกิจเร่งปรับตัวรับมือกฎหมายคุมเข้มสิ่งแวดล้อมเพิ่ม

SCB EIC จับผลกระทบหลายนโยบายว่าที่รัฐบาลใหม่ว่ามีผลกระทบต่อหลายธุรกิจ ทั้งขึ้นค่าแรงกระทบหนักกลุ่มธุรกิจเกษตร-รับเหมาฯ ส่วนนโยบายปรับโครงสร้างธุรกิจไฟฟ้าเสี่ยงกระทบรายได้โรงไฟฟ้า IPP-SPP พร้อมให้จับตาการออกกฎหมายคุมเข้มด้านสิ่งแวดล้อม   ปราณิดา ศยามานนท์ ผู้อำนวยการฝ่าย Industry Analysis ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ Economic Intelligence ...
CP แถลงการณ์
30 เมษายน 2023

ซีพีออกแถลงการณ์ กรณีถูกพาดพิงช่วงดีเบต ย้ำนโยบายดูแลสิ่งแวดล้อมตลอดห่วงโซ่ ไม่ส่งเสริมการเผา

วันนี้ (30 เมษายน) เครือเจริญโภคภัณฑ์ (ซีพี) โดยสำนักยุทธศาสตร์ข้อมูลและการสื่อสาร ออกแถลงการณ์กรณีมีการพาดพิงชื่อซีพีจากเวทีดีเบตหาเสียง อันทำให้เกิดความเข้าใจผิด    โดยแถลงการณ์ดังกล่าวระบุว่า ซีพีให้ความเคารพต่อสิทธิและเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น หรือเผยแพร่ข้อมูลที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความถูกต้องเป็นจริง อย่างไรก็ตาม ปรากฏว่าในช...
โลก ขาดแคลน อาหาร
19 เมษายน 2023

โลกเสี่ยงขาดแคลนอาหาร? กำลังการผลิตข้าวดิ่งสุดในรอบ 20 ปี กดดันราคาอาหาร

ขณะนี้ทั่วโลกไม่สามารถผลิตข้าวได้ทันกับความต้องการบริโภคของผู้คน ผู้บริโภคกว่า 3.5 พันล้านรายได้รับผลกระทบและต้องแบกรับราคาข้าวที่สูงขึ้น โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกที่เป็นผู้บริโภคหลักกว่า 90% ของข้าวบนโลก   ในปี 2023 Fitch Solutions ได้ออกมาเผยว่าปริมาณข้าวในตลาดโลกกำลังเจอกับการร่วงหล่นของอุปทานมากสุดในรอบ 20 ปี ซึ่งการขาดแคลนในระ...
จีน Big Data ข้าว
3 เมษายน 2023

จีนเปิดตัวแพลตฟอร์ม ‘บิ๊กดาต้า’ ระดับชาติ ตั้งเป้ายกระดับห่วงโซ่อุตสาหกรรมข้าว

ทางการจีนได้ตัวแพลตฟอร์มบิ๊กดาต้าระดับชาติสำหรับห่วงโซ่อุตสาหกรรมข้าวทั้งหมดเมื่อวันอาทิตย์ที่ 2 เมษายนผ่านมา ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มแรกในประเทศ โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการแปลงเป็นดิจิทัลและการสร้างข้อมูลของภาคส่วนนี้   รายงานระบุว่า แพลตฟอร์มดังกล่าวมุ่งเน้นไปที่การสร้าง รวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล วิเคราะห์ และให้บริการข้อมูลอุตสาหกรรมข้าว เพื...
22 มีนาคม 2023

ผลประโยชน์จาก ‘โครงการผันน้ำยวม’ ใครคือผู้ได้รับ? [PR NEWS]

ปัญหาภัยแล้ง น้ำท่วม น้ำหลาก ในพื้นที่จังหวัดลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา แม้ว่ากรมชลประทานจะมีมาตรการบริหารจัดการน้ำและเตรียมความพร้อมรับมือภัยแล้งทั้งการใช้ระบบชลประทานอย่างเต็มศักยภาพ การจัดสรรน้ำทั้งในฤดูฝนและฤดูแล้ง ไปจนถึงให้ความช่วยเหลือด้านเครื่องจักร เครื่องมือต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องสูบน้ำ เครื่องผลักดันน้ำ    แต่ดูเหมือนว่าปัจจัย...
21 มีนาคม 2023

ฟังเสียง ‘เกษตรกร’ คนลุ่มเจ้าพระยา ‘ถ้าน้ำไม่มี พื้นดินก็ไร้คุณค่า’ [PR NEWS]

จนถึงตอนนี้ข้อกังขาของโครงการผันน้ำยวม หรือชื่อที่เป็นทางการว่า ‘โครงการเพิ่มปริมาณน้ำต้นทุนให้เขื่อนภูมิพล แนวส่งน้ำยวม-อ่างเก็บน้ำเขื่อนภูมิพล’ บนพื้นที่แนวเขตป่ารอยต่อ 3 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดตาก และจังหวัดเชียงใหม่ ถึงความ ‘คุ้มได้’ หรือ ‘ไม่คุ้มเสีย’ เพราะปฏิเสธไม่ได้เลยว่าจะมีผู้ได้รับผลกระทบอย่างแน่นอน    ...
7 มีนาคม 2023

งานศึกษาล่าสุดชี้ การผลิตเนื้อสัตว์ นม และข้าว มีส่วนทำลายเป้าหมายที่จะไม่ให้อุณหภูมิโลกเพิ่มสูงเกิน 1.5 องศาเซลเซียส

งานศึกษาล่าสุดชี้ว่า การผลิตอาหารอย่างเนื้อสัตว์ นม และข้าว ดั่งเช่นในปัจจุบัน มีส่วนทำลายเป้าหมายที่จะควบคุมไม่ให้อุณหภูมิเฉลี่ยโลกเพิ่มสูงเกิน 1.5 องศาเซลเซียส ถ้าหากไม่มีการจัดการกับการผลิตอาหารที่เกี่ยวพันกับก๊าซมีเทนเหล่านี้   งานศึกษาชิ้นนี้วิเคราะห์และประเมินว่า ถ้าหากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เกี่ยวพันกับระบบการผลิตอาหารดั่งเช่นทุ...


Close Advertising
X