×

การประชุมสภาผู้แทนราษฎร

เบญจา แสงจันทร์
2 มิถุนายน 2021

‘เบญจา’ ก้าวไกล อภิปราย ต้องปฏิรูปงบที่เกี่ยวกับสถาบันฯ เพื่อไม่ถูกนำไปแอบอ้าง กระทบพระเกียรติยศ

วานนี้ (1 มิถุนายน) เบญจา แสงจันทร์ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ พรรคก้าวไกล อภิปรายร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2565 โดยระบุว่า เมื่อพูดถึงการกำหนดวงเงินของหน่วยงานรับงบประมาณต่างๆ ที่ตั้งงบประมาณค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับสถาบันพระมหากษัตริย์ในปีงบประมาณ 2565 มีงบประมาณที่เกี่ยวข้องกับสถาบันอยู่อย่างน้อยๆ 33,712,000,000 บาท (สามหมื่นสาม...
กมลศักดิ์ ลีวาเมาะ
2 มิถุนายน 2021

ส.ส. ประชาชาติ อภิปรายปม กอ.รมน. ตั้งงบฯ สร้างกำแพงบริเวณลุ่มแม่น้ำสุไหงโก-ลก ชี้รัฐไม่เข้าใจวิถีประชาชนในพื้นที่

วานนี้ (1 มิถุนายน) กมลศักดิ์ ลีวาเมาะ ส.ส. นราธิวาส พรรคประชาชาติ อภิปรายในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร วาระพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 วงเงิน 3.1 ล้านล้านบาท วาระแรก    กมลศักดิ์กล่าวว่า ตนพบว่ามีการจัดงบประมาณปี 2565 ให้กับกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) เพื่อสร้างกำแพงบริเวณลุ่มแม่...
ชวน หลีกภัย
2 มิถุนายน 2021

ชวนยันตำรวจสภาทำตามหน้าที่ หลังมีปัญหากับผู้ติดตามรัฐมนตรี ชี้สภาออกกฎหมายก็ควรเคารพกฎเกณฑ์

วันนี้ (2 มิถุนายน) ชวน หลีกภัย ประธานรัฐสภา กล่าวถึงเหตุการณ์กรณีที่มีผู้ติดตามของรัฐมนตรีช่วยฯ คนหนึ่งมีปัญหากับตำรวจสภาว่า ได้เชิญตำรวจสภาที่เกี่ยวข้อง สอบสวนได้ว่ามีปัญหากับผู้หญิงที่เป็นผู้ติดตามรัฐมนตรีท่านหนึ่ง โดยตำรวจสภาได้ขอให้ผู้ติดตามคนนี้ขึ้นลิฟต์คนละทางกับลิฟต์ ส.ส. เพื่อควบคุมไม่ให้มีการแพร่เชื้อ กรณีนี้เจ้าหน้าที่อาคารรัฐสภาได้ทำหน้...
นิพนธ์ โต้กลับก้าวไกล ใช้ข้อมูลตัดแปะ ย้ำไม่เคยเอื้อนายทุนโครงการจะนะ ปมจ่ายเงินรถซ่อมบำรุงไม่เกี่ยว
18 กุมภาพันธ์ 2021

นิพนธ์ โต้กลับก้าวไกล ใช้ข้อมูลตัดแปะ ย้ำไม่เคยเอื้อนายทุนโครงการจะนะ ปมจ่ายเงินรถซ่อมบำรุงไม่เกี่ยว

วันนี้ (18 กุมภาพันธ์) ที่อาคารรัฐสภา การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ญัตติอภิปรายไม่ไว้วางใจ นิพนธ์ บุญญามณี รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้ลุกขึ้นชี้แจงแก้ข้อกล่าวหาของ ประเสริฐพงษ์ ศรนุวัตร์ ส.ส. บัญชีรายชื่อ พรรคก้าวไกล เกี่ยวกับโครงการเมืองอุตสาหกรรมต้นแบบแห่งอนาคตจะนะ ในเขตพื้นที่อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ว่าตนขอปฏิเสธทุกข้อกล่าวหา ข้อมูลของประเสริ...
สรุปเวลาอภิปรายไม่ไว้วางใจวันแรก ใครใช้เวลาเท่าไร
17 กุมภาพันธ์ 2021

สรุปเวลาอภิปรายไม่ไว้วางใจวันแรก ใครใช้เวลาเท่าไร

วานนี้ (16 กุมภาพันธ์) สภาผู้แทนราษฎรได้เปิดฉากอภิปรายไม่ไว้วางใจวันแรก โดยกำหนดกรอบเวลาอภิปรายตั้งแต่วันที่ 16-19 กุมภาพันธ์ และลงมติในวันที่ 20 กุมภาพันธ์   โดยก่อนเริ่มการประชุมวันนี้ (17 กุมภาพันธ์) ซึ่งเป็นวันที่สองของการอภิปรายฯ ประธานในที่ประชุม (ศุภชัย โพธิ์สุ) ได้สรุปเวลาของอภิปรายฯ ในวันแรกดังนี้     ภาพประ...
ส.ว. แจ้งงดประชุมสภา 2 สัปดาห์ หลังสถานการณ์โควิด-19 ระบาดระลอกใหม่ ถึงวันที่ 12 ม.ค. นี้
5 มกราคม 2021

ส.ว. แจ้งงดประชุมสภา 2 สัปดาห์ หลังสถานการณ์โควิด-19 ระบาดระลอกใหม่ ถึงวันที่ 12 ม.ค. นี้

วันนี้ (5 มกราคม) สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาได้ส่งข้อความถึงสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) ถึงแนวทางการประชุมในช่วงที่มีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ระบุว่า   จากผลการประชุมร่วมกันของประธานวุฒิสภา, ประธานสภาผู้แทนราษฎร, วิป 3 ฝ่าย และหัวหน้าพรรคการเมืองทุกพรรค เกี่ยวกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ...
แก้รัฐธรรมนูญ
18 พฤศจิกายน 2020

Live: ส.ส.-ส.ว.กำลังลงมติ ในการประชุมร่วมรัฐสภาเพื่อพิจารณาร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ 7 ฉบับ (18 พ.ย. 63)

วันที่ 17-18 พฤศจิกายนนี้ ต้องจับตาการประชุมร่วมรัฐสภาเพื่อพิจารณาญัตติแก้ไขรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 จำนวน 7 ญัตติ ในจำนวนนี้รวมร่างแก้ไขเสนอโดยโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน หรือ iLaw ซึ่งมีประชาชนร่วมลงชื่อสนับสนุนร่วม 1 แสนคน     ประชุมร่วมรัฐสภา พิจารณาแก้รัฐธรรมนูญ 7 ฉบับ (18 พ.ย. 63) ช่วงที่ 1   https://www.youtube....
17 พฤศจิกายน 2020

ปิดถนนรอบสภา สมาชิกยังไม่ครบองค์ประชุมแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญ

วันนี้ (17 พฤศจิกายน) เมื่อเวลา 09.35 น. ยังเปิดประชุมสภาเพื่อพิจารณาญัตติร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญไม่ได้ โดย ชวน หลีกภัย ประธานสภา กล่าวว่าสมาชิกยังไม่ครบองค์ ขาดอีก 65 คน แต่เข้าใจดีว่าการจราจรรอบรัฐสภาไม่สะดวกในวันนี้   ขณะที่เวลา 09.43 น. ยังขาดสมาชิกอีก 21 คน โดยองค์ประชุมต้องมี 366 คน ขณะที่ตำรวจปิดการจราจรรอบรัฐสภา   ขณะที่วั...
แก้รัฐธรรมนูญ
17 พฤศจิกายน 2020

Live: ประชุมร่วมรัฐสภา พิจารณาร่างแก้รัฐธรรมนูญ 7 ฉบับ (17 พ.ย. 63)

วันที่ 17-18 พฤศจิกายนนี้ ต้องจับตาการประชุมร่วมรัฐสภาเพื่อพิจารณาญัตติแก้ไขรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 จำนวน 7 ญัตติ ในจำนวนนี้รวมร่างแก้ไขเสนอโดยโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน หรือ iLaw ซึ่งมีประชาชนร่วมลงชื่อสนับสนุนร่วม 1 แสนคน   สำหรับการลงมติต้องใช้เสียงกึ่งหนึ่งของรัฐสภา ซึ่งมีสมาชิกปัจจุบันรวม 732 คน แบ่งเป็น ส.ส. 487 คน และ ส.ว....
25 กันยายน 2020

ประมวลบรรยากาศห้องประชุมสภาขั้วรัฐบาล ฝ่ายค้าน และ ส.ว. ก่อนพลิกเสนอญัตติเลื่อนโหวตแก้รัฐธรรมนูญ

การประชุมร่วมของรัฐสภาเพื่อพิจารณาญัตติการแก้ไขรัฐธรรมนูญ 6 ญัตติ ดำเนินไปต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 23-24 กันยายน รวม 2 วัน ท่ามกลางการจับตาจากหลายฝ่ายว่าทิศทางของรัฐสภาจะออกมาอย่างไรกับการแก้ไขรัฐธรรมนูญที่มีการเสนอญัตติจากทั้งฝ่ายค้านและรัฐบาล โดยตัวแปรสำคัญคือ ส.ว. ที่ต้องออกเสียงเพื่อลงมติด้วย ขณะเดียวกันนอกอาคารรัฐสภา กลุ่มผู้ชุมนุมที่ยื่นข้อเสนอ...


Close Advertising
X