×

กฎหมายสมรสเท่าเทียม

สมรสเท่าเทียม
7 มิถุนายน 2022

‘ประวัติศาสตร์จะไม่ซ้ำ ประวัติศาสตร์จะต้องเปลี่ยน’ ย้อนรอย 13 ปี การต่อสู้เพื่อ #สมรสเท่าเทียม

จากมิถุนายน เดือนแห่งความภาคภูมิใจของผู้มีความหลากหลายทางเพศ หรือ Pride Month ทั่วโลกรวมทั้งไทยต่างเฉลิมฉลองให้กับเดือนแห่งความภาคภูมิใจนี้    ผ่านมาเกือบ 6 เดือน ล่าสุดพรุ่งนี้ (21 ธันวาคม) ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... หรือสมรสเท่าเทียม ซึ่งเสนอโดย สส. พรรคก้าวไกล จะกลับ...
ประยุทธ์ จันทร์โอชา
7 มิถุนายน 2022

ครม. เห็นชอบร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต แยกจากประมวลแพ่ง ส่งต่อที่ประชุม ส.ส. พิจารณา ย้ำเพื่อให้เป็นสากล-สอดคล้องกับโลก

วันนี้ (7 มิถุนายน) พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม กล่าวภายหลังการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) ว่าวันนี้ในที่ประชุมได้มีการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) คู่ชีวิต ซึ่งถือเป็นกฎหมายใหม่ สอดคล้องกับทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก เรื่องความเสมอภาคทางเพศและความหลากหลายทางเพศ และถือเป็นสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานที่ต้องได้ร...
Move Forward Party
30 มีนาคม 2022

ก้าวไกลชี้รัฐบาลตั้งใจทำลายความชอบต่อรัฐสภา หลังคว่ำร่างสมรสเท่าเทียม-สุราก้าวหน้า

วันนี้ (30 มีนาคม) ณัฐวุฒิ บัวประทุม พร้อมด้วย ศิริกัญญา ตันสกุล รองหัวหน้าพรรคก้าวไกล และธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) แบบบัญชีรายชื่อ พรรคก้าวไกล ในฐานะผู้ริเริ่มเสนอร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.) 1448 หรือร่าง พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม แถลงข่าวถึงกรณีที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติไม่เห็นด้วยกับการ...
ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์
9 กุมภาพันธ์ 2022

ชมคลิป: เปิดใจ ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ ส.ส. ก้าวไกล ทำไมต้อง #สมรสเท่าเทียม

ทำความเข้าใจกระแส #สมรสเท่าเทียม และความเป็นไปได้ที่ประเทศไทยจะมีกฎหมาย #สมรสเท่าเทียม เป็นชาติที่สองของเอเชีย   THE STANDARD พูดคุยกับ ส.ส. ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ และคณะฯ จากพรรคก้าวไกล ผู้ร่วมเสนอร่าง พ.ร.บ. แก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฯ (ป.พ.พ.) มาตรา 1448 เปลี่ยนเป็นอนุญาตให้ ‘บุคคลทั้งสอง’ แทน ‘ชายและหญิง’ ซึ่งจะทำให้คู่รักทุกเพศ ...
equal marriage
9 กุมภาพันธ์ 2022

เปิด 9 เหตุผล ทำไมต้อง #สมรสเท่าเทียม

วันนี้ (9 กุมภาพันธ์) หลังรอคอยมา 448 วัน ในที่สุดร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.1448) หรือร่าง พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม ก็เข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) นับจากวันแรก 18 มิถุนายน 2563 ซึ่งเป็นเดือนแห่งความหลากหลายทางเพศ ที่กฎหมายสมรสเท่าเทียมยื่นเข้าสู่สภาผู้แทนราษฎรผ่านกระบวนรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของร...
พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม
9 กุมภาพันธ์ 2022

อีกหน้าประวัติศาสตร์สภา ‘ร่างแก้ประมวลแพ่งให้สมรสเท่าเทียม’ ที่เสนอโดยก้าวไกล กำลังเข้าสู่วาระการพิจารณา

วันนี้ (9 กุมภาพันธ์) หลังรอคอยมา 448 วัน ในที่สุดร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.1448) หรือร่าง พ.ร.บ.สมรสเท่าเทียม ก็เข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) นับจากวันแรก 18 มิถุนายน 2563 ซึ่งเป็นเดือนแห่งความหลากหลายทางเพศ ที่กฎหมายสมรสเท่าเทียมยื่นเข้าสู่สภาผู้แทนราษฎรผ่านกระบวนรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของร...
สมรสเท่าเทียม
4 ธันวาคม 2021

ถอดคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญกรณี #สมรสเท่าเทียม จุดเปลี่ยนของการเรียกร้องสิทธิ LGBTQ ในไทย

​เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2564 เว็บไซต์ของศาลรัฐธรรมนูญได้เผยแพร่ผลคำวินิจฉัยเกี่ยวกับการสมรสระหว่างบุคคลที่มีเพศเดียวกันที่ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเป็นเอกฉันท์ว่าประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1448 ซึ่งอนุญาตให้เฉพาะชายกับหญิงเท่านั้นสมรสกันได้ไม่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ โดยมีข้อแนะนำให้รัฐสภา คณะรัฐมนตรี และหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการตรากฎห...
สมรสเท่าเทียม
29 พฤศจิกายน 2021

แคมเปญล่ารายชื่อเสนอแก้ประมวลแพ่ง ม.1448 เพื่อสมรสเท่าเทียม ทะลุ 1 แสนกว่ารายชื่อแล้ว ตั้งเป้า 1 ล้านรายชื่อ

วานนี้ (28 พฤศจิกายน) ที่สี่แยกราชประสงค์ กลุ่มภาคีสีรุ้งเพื่อการสมรสเท่าเทียม จัดกิจกรรมเชิงสัญลักษณ์ที่ใช้ชื่อว่า ‘เพราะบุคคลนั้นเท่ากัน สมรสจึงต้องเท่าเทียม’ เพื่อแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ในการเรียกร้องไปยังรัฐบาลว่าสิทธิในการสมรสเป็นของทุกเพศ และต้องมีความเท่าเทียม โดยทางกลุ่มเห็นว่า แม้ประเทศไทยจะยอมรับ LGBTQ แต่กฎหมายและนโยบายของรัฐยังไม่คุ้มครองบ...
ภาคีสีรุ้งเพื่อการสมรสเท่าเทียม
29 พฤศจิกายน 2021

#ภาคีสีรุ้งเพื่อการสมรสเท่าเทียม ล่ารายชื่อเสนอร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมภาคประชาชน ตั้งเป้า 1 ล้านรายชื่อ

วันนี้ (28 พฤศจิกายน) ที่สี่แยกราชประสงค์ ช่วงเย็นที่ผ่านมา กลุ่มภาคีสีรุ้งเพื่อการสมรสเท่าเทียม จัดกิจกรรมเชิงสัญลักษณ์ที่ใช้ชื่อว่า ‘เพราะบุคคลนั้นเท่ากัน สมรสจึงต้องเท่าเทียม’ เพื่อแสดงออกเชิงสัญลักษณ์ในการเรียกร้องไปยังรัฐบาล ว่าสิทธิในการสมรสเป็นของทุกเพศ และต้องมีความเท่าเทียม โดยทางกลุ่มเห็นว่า แม้ประเทศไทยจะยอมรับ LGBTQ แต่กฎหมายและนโยบายขอ...
สมรสยังไม่เท่าเทียม
18 พฤศจิกายน 2021

เมื่อ #สมรสยังไม่เท่าเทียม สำรวจความเห็นต่อคำวินิจฉัยศาล รธน.

วานนี้ (17 พฤศจิกายน) หลังศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1448 ที่กำหนดการสมรสเฉพาะชาย-หญิง ไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ในเวลาต่อมา THE STANDARD ได้พูดคุยกับ รศ.อานนท์ มาเม้า อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ เพิ่มทรัพย์ แซ่อึ้ง ในฐานะผู้ยื่นคำร้องขอสิทธิสมรสเท่าเทียมอันเป็นที่มาของคดีนี้ รวมถึงสำรวจความคิดเห็นขอ...


Close Advertising