×

โบราณคดี

เมืองพระนคร กัมพูชา
11 เมษายน 2023

ความแห้งแล้ง หนึ่งปัจจัยที่ทำให้เมืองพระนครของกัมพูชาล่มสลาย

ไม่ใช่มีเพียงสงครามที่เป็นปัจจัยทำให้อาณาจักรใดอาณาจักรหนึ่งล่มสลาย แต่ภัยธรรมชาติก็เป็นปัญหาหนึ่งที่สำคัญยิ่ง ในช่วง 2-3 ปีมานี้กระแสของการศึกษาโบราณคดีเริ่มให้ความสำคัญกับประเด็นปัญหาร่วมสมัยกันมากขึ้น โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) เนื่องจากความร้อนของโลกที่เพิ่มสูงขึ้น ทำให้แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมต่างๆ อยู่ในภาวะเสี่ยง ไม่ว่า...
อียิปต์
31 กรกฎาคม 2022

อียิปต์พบซาก ‘สิ่งปลูกสร้างอิฐโคลน’ อายุ 4,500 ปี คาดเป็น 1 ใน 4 วิหารสุริยเทพ

วานนี้ (30 กรกฎาคม) คณะนักโบราณคดีอิตาลี-โปแลนด์ค้นพบซากสิ่งปลูกสร้างอิฐโคลนที่เชื่อกันว่าเป็นหนึ่งในวิหารสุริยเทพ (Sun Temples) ที่สาบสูญ ซึ่งมีอายุย้อนไปถึงสมัยราชวงศ์ที่ 5 ของอียิปต์โบราณ (2,465-2,323 ปีก่อนคริสต์ศักราช)   โดยกระทรวงการท่องเที่ยวและโบราณวัตถุอียิปต์แถลงว่า สิ่งปลูกสร้างดังกล่าวถูกพบอยู่ใต้วิหารสุริยเทพของฟาโรห์นูเซอร์...
หลุมศพโบราณ
24 กรกฎาคม 2022

เหอเป่ยเผย พบ ‘หลุมศพโบราณ’ 463 หลุม วัตถุทางวัฒนธรรมกว่า 2,400 รายการ ในภารกิจขุดค้นล่าสุด

วานนี้ (23 กรกฎาคม) สถาบันวัตถุทางวัฒนธรรมและโบราณคดีของมณฑลเหอเป่ยทางตอนเหนือของจีน เปิดเผยการขุดพบหลุมศพโบราณมากถึง 463 หลุม ระหว่างภารกิจขุดค้นทางโบราณคดีอย่างครอบคลุมในเหอเป่ย ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อเดือนมกราคมปี 2021   สถาบันฯ ระบุว่าการขุดค้นรอบใหม่นี้เริ่มต้นขึ้นเมื่อเดือนมกราคม 2021 ที่สุสานโฮ่วไป่เจียเป่ย (Houbaijiabei Cemetery) ในเม...
ราชโองการยุคราชวงศ์หมิง
24 กรกฎาคม 2022

หูเป่ย์พบ ‘ราชโองการ’ ยุคราชวงศ์หมิง จารึกอักษรสวยงาม

วานนี้ (23 กรกฎาคม) สำนักการคุ้มครองและการจัดการวัตถุทางวัฒนธรรมเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์ทางตอนเหนือของจีน ค้นพบราชโองการโบราณจากยุคราชวงศ์หมิง (ปี 1368-1644)   ราชโองการดังกล่าวกว้าง 0.3 เมตร ยาวรวม 1.85 เมตร และมีตัวอักษรจารึกอยู่ 455 ตัว   หวังเหว่ย ผู้อำนวยการสำนักฯ กล่าวว่า ราชโองการดังกล่าวถูกเขียนอย่างสวยงาม มีคุณค่าทางศ...
ธนาคารพันธุกรรมเซรามิกโบราณ
12 มิถุนายน 2022

จีนเตรียมสร้าง ‘ธนาคารพันธุกรรม’ เซรามิกโบราณ มีข้อมูลจากเศษเซรามิกเกือบ 20 ล้านชิ้น

วานนี้ (11 มิถุนายน) จีนเตรียมจัดตั้ง ‘ธนาคารพันธุกรรม’ ของเซรามิกโบราณในมณฑลเจียงซีทางตะวันออกของประเทศ ซึ่งอ้างอิงข้อมูลจากเศษเซรามิกที่เก็บสะสมมานานราว 40 ปี จำนวนเกือบ 20 ล้านชิ้น   เวิงเยี่ยนจวิน ประธานสถาบันเตาเผาหลวงจิ่งเต๋อเจิ้น ณ เมืองจิ่งเต๋อเจิ้น ซึ่งมีชื่อเสียงระดับโลกด้วยฐานะ ‘เมืองหลวงเครื่องเคลือบ’ ระบุว่า เศษเซรามิกโบราณเ...
Machu Picchu
27 มีนาคม 2022

การศึกษาใหม่ชี้ มนุษย์อาจเรียกชื่อ Machu Picchu ผิดมานานกว่าร้อยปี

‘มาชูปิกชู’ (Machu Picchu) เป็นหนึ่งในแหล่งโบราณคดีที่ได้รับการยอมรับมากที่สุดในโลก และยังคงเป็นที่ทำงานของนักวิจัยตั้งแต่ร้อยปีก่อนจวบจนปัจจุบัน หลักฐานการศึกษาครั้งใหม่พบว่า แท้จริงแล้ว มาชูปิกชู อาจไม่ได้ชื่อ มาชูปิกชู และมนุษย์อาจเรียกชื่อผิดมานานกว่าร้อยปี   การศึกษานี้ตีพิมพ์ในาวารสารวิชาการ Ñawpa Pacha: Journal of Andean Archaeolo...
National Museum thailand
24 ธันวาคม 2021

เดินทางในหลุมขุดค้น ตามหาบรรพชนคนไทย ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเก่า โฉมใหม่

สถาปัตยกรรมรูปทรงสี่เหลี่ยมสีน้ำตาลแดงแปลกตา คล้ายกับงาน Cubic Architecture ตั้งอยู่ท่ามกลางไร่มันสำปะหลังนี้ คงไม่มีใครคิดว่านี่คือพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ บ้านเก่า ซึ่งเรียกได้ว่าฉีกไปจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติทุกแห่งในประเทศไทย และไม่ใช่แค่เพียงในแง่ของสถาปัตย์เท่านั้น แต่ยังรวมถึงวิธีการเล่าเรื่องอีกด้วย    บ้านเก่าเป็นวัฒนธรรมยุคก่อ...
Phaeng Pha Tham Lod
28 สิงหาคม 2021

ข้อค้นพบใหม่: ทุ่งสะวันนาเมืองไทยในยุคน้ำแข็ง ร่องรอยจากฟันสัตว์

คำถามเกี่ยวกับยุคน้ำแข็งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่สำคัญคือ ‘ปัจจัยอะไรที่เอื้อให้มนุษย์ยุคหมื่นปีขึ้นไปสามารถเดินทางไปในเขตหมู่เกาะ พวกเขาอยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมแบบใด และทำไมเครื่องมือหินในยุคนั้นจึงไม่ค่อยพัฒนามากเมื่อเทียบกับพื้นที่อื่นของโลก’   คำถามนี้คลี่คลายลงเมื่อทีมนักวิจัยด้านบรรพชีวินวิทยาและโบราณคดีชาวไทยร่วมกับต่างชาติได้ร่วม...
Yao Bowon Nakhon Building
16 กรกฎาคม 2021

โบราณคดีครัวเรือนที่ตึกยาวบวรนคร (ศรีธรรมราช) ขุดอดีตเพื่อสร้างอนาคต

แทบทุกจังหวัดของไทยล้วนตั้งอยู่บนเมืองเก่าหรือชุมชนโบราณแทบทั้งสิ้น มีอายุตั้งแต่หลักร้อยไปจนถึงพันปีก็มี ปัญหาจึงอยู่ตรงที่ว่า ควรจะทำอย่างไรเพื่อไม่ให้การพัฒนาเมืองในทุกวันนี้ทำให้เราไม่ต้องสูญเสียข้อมูลเกี่ยวกับประวัติศาสตร์โบราณคดี ซึ่งในต่างประเทศถือกันว่าเป็นทรัพยากรทางวัฒนธรรมที่สำคัญ เพราะเป็นของที่เมื่อถูกทำลายแล้วไม่สามารถสร้างใหม่หรือกู้...
นครวัดจำลองที่บุรีรัมย์
9 กรกฎาคม 2021

นครวัดจำลองที่บุรีรัมย์ ปมประวัติศาสตร์ไทย-กัมพูชา และกำเนิดสัญลักษณ์ของชาติ

นครวัดถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของกัมพูชา การพยายามจำลองปราสาทหินที่บุรีรัมย์ที่เป็นข่าวในตอนนี้จึงเป็นปัญหาขึ้นมา เพราะความรู้สึกชาตินิยมของคนกัมพูชา (เขมร) ซึ่งความรู้สึกชาตินิยมนี้มันก็ฝังกันอยู่ในตัวคนทุกประเทศ เรื่องนี้มันคงไม่ต่างกันถ้าหากประเทศใดประเทศหนึ่งจำลองวัดพระแก้วไป   ความจริงจีนก็ได้จำลองปราสาทบายนหรือเมืองนครธมไปสร้างขึ้...

Close Advertising