×

ศาสนาอิสลาม

18 สิงหาคม 2021

มองอนาคตหญิงอัฟกันใต้เงาตาลีบัน หลังให้สัญญา ‘เคารพสิทธิสตรีตามกรอบกฎหมายอิสลาม’ เชื่อได้ไหม? เปิดกว้างแค่ไหน?

“ประเด็นเรื่องสตรีนั้นมีความสำคัญมาก รัฐอิสลามให้สิทธิสตรีภายใต้กรอบของชารีอะห์ (กฎหมายอิสลาม) พี่สาวน้องสาวของเรา คนของเรา มีสิทธิเหมือนๆ กัน พวกเขาสามารถได้ประโยชน์จากสิทธิของตนเอง พวกเขาสามารถทำกิจกรรมในภาคส่วนต่างๆ และพื้นที่ต่างๆ บนพื้นฐานของกฎระเบียบและข้อบังคับของเรา การศึกษา สุขภาพ และด้านอื่นๆ พวกเขาจะทำงานร่วมกับเรา เคียงบ่าเคียงไหล่กับเร...
2 วันในปัตตานี / ปาตานี ท่องไปในแดนลังกาสุกะจนถึงรัฐอิสลาม เปลี่ยนการรับรู้เป็นความเข้าใจ
16 เมษายน 2021

2 วันในปัตตานี / ปาตานี ท่องไปในแดนลังกาสุกะจนถึงรัฐอิสลาม เปลี่ยนการรับรู้เป็นความเข้าใจ

2 วันนั้นไม่พอแน่ที่จะรู้จักปัตตานี แต่ถึงอย่างนั้นก็มากพอที่จะซึมซับความรู้สึกบางอย่าง และเปลี่ยนความทรงจำมีต่อ ‘ปาตานี’ ชื่อที่คนในพื้นที่เรียกขานตนเอง ได้พอสมควร    ผมเชื่อว่าถ้ามีใครสักคนเอ่ยปากชวนคุณไปเที่ยวปัตตานี สิ่งแรกที่แวบเข้ามาในหัวคือ ความรู้สึกอันตราย เสี่ยงระเบิด และอื่นๆ อีกมากมาย ซึ่งความรู้สึกเช่นนี้เองที่กลายเป็นอ...
โลกมุสลิมลุกฮือ ต่อต้านประธานาธิบดีฝรั่งเศส ชี้ดูหมิ่นศาสนาอิสลาม
3 พฤศจิกายน 2020

โลกมุสลิมลุกฮือ ต่อต้านประธานาธิบดีฝรั่งเศส ชี้ดูหมิ่นศาสนาอิสลาม

เมื่อวานนี้ (2 พฤศจิกายน) เกิดเหตุประท้วงครั้งใหญ่ในกรุงธากา เมืองหลวงบังกลาเทศ มีชาวมุสลิมเข้าร่วมขบวนต่อต้านการกระทำของผู้นำฝรั่งเศสอย่างประธานาธิบดีเอ็มมานูเอล มาครง กว่า 5 หมื่นราย เต็มท้องถนนยาวกว่า 2 กิโลเมตร หลังจากที่มาครงเดินหน้าแก้ไขปัญหามุสลิมหัวรุนแรง พร้อมปกป้องสิทธิในการแสดงความคิดเห็นในฝรั่งเศส   โดยท่าทีดังกล่าวของผู้นำฝร...
15 พฤษภาคม 2020

ละหมาดวันศุกร์ที่มัสยิดกลางปัตตานี หลังคลายล็อกวันแรก

บรรยากาศการละหมาดวันศุกร์วันนี้ (15 พฤษภาคม) ที่มัสยิดปัตตานี ซึ่งเป็นวันแรกที่มีการผ่อนปรนมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 โดยก่อนหน้านี้มัสยิดทุกแห่งถูกปิดลงชั่วคราว กระทั่งล่าสุดสำนักจุฬาราชมนตรี ในฐานะผู้นำสูงสุดของศาสนาอิสลามในประเทศไทย ออกประกาศให้แต่ละพื้นที่พิจารณาตามความเหมาะสม แต่ให้รักษาไว้ซึ่งมาตรการของสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด ...
1 กุมภาพันธ์ 2020

1 กุมภาพันธ์ – วันฮิญาบสากล

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ของทุกปี ตรงกับวันฮิญาบสากล ที่ริเริ่มขึ้นมาครั้งแรกในปี 2013 โดย Nazma Khan นักเคลื่อนไหวเพื่อสิทธิสตรีมุสลิม ที่ต้องการให้คนทั่วไปเข้าใจความสำคัญของฮิญาบ ไม่ว่าพวกเขาเหล่านั้นจะนับถือศาสนาใดก็ตาม    Nazma Khan เป็นชาวบังกลาเทศที่ย้ายมาอยู่สหรัฐอเมริกาตั้งแต่เด็ก ซึ่งการเป็นเด็กผู้หญิงที่สวมฮิญาบคนเดียวในโรงเรียน...
I’m Not Your F ing Stereotype
2 ธันวาคม 2019

I’m Not Your F***ing Stereotype สะท้อนวิกฤตอัตลักษณ์ที่เด็กสาวมุสลิมต้องเผชิญ ได้รางวัลจากเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติสิงคโปร์

“แกนับถือศาสนาอะไรกันแน่เนี่ย”   คำถามสั้นๆ ใน I’m Not Your F***ing Stereotype หนังสั้นธีสิสของฮีซัมร์ เจ๊ะมามะ นักศึกษาจากคณะ Digital Media and Cinematic Arts มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ที่หยิบประเด็นปัญหาวิกฤตอัตลักษณ์ที่เด็กสาวมุสลิมต้องเผชิญ มาสะท้อนมุมมองและสิ่งที่เกิดขึ้น แต่หลายคนไม่เคยรับรู้ หรือไม่ก็ถูกพร่าเลือนให้ดูเหมือนว่าไม่มีสิ่งเห...
ปมปัญหาอุยกูร์
28 พฤศจิกายน 2019

เปิดเบื้องหลังปมปัญหาอุยกูร์: มองผ่านเลนส์นักวิชาการด้านจีนศึกษา

เมื่อประมาณ 4 ปีก่อน ผู้เขียนได้รับเชิญจากทางการจีนให้ไปเยี่ยมชมเมืองอุรุมชี เมืองเอกของเขตปกครองตนเองซินเจียง-อุยกูร์ พร้อมกันนั้นก็มีโอกาสเข้าร่วมงานสัมมนา ‘Xinjiang Development Forum’ ซึ่งมีเพื่อนนักวิชาการจากประเทศต่างๆ เข้าร่วมกว่า 30 ประเทศทั่วโลก    ในงานครั้งนั้น นอกจากพวกเราจะมีโอกาสลงไปสัมผัสชีวิตจริงของชาวอุยกูร์ และเรียน...
17 กันยายน 2019

อดีตกรรมการสิทธิฯ ค้านสันติบาลทำประวัตินักศึกษามุสลิม ชี้รัฐสร้างความหวาดระแวง ละเมิดเสรีภาพ

จากรณีที่ปรากฏสำเนาหนังสือจากสันติบาลที่เผยแพร่ในโซเชียลมีเดีย ที่ได้ส่งถึงอธิการบดีมหาวิทยาลัย เพื่อขอให้แจ้งจำนวนนักศึกษาที่นับถือศาสนาอิสลาม พร้อมทั้งให้ระบุนิกาย รวมถึงการตั้งชมรม กลุ่ม ของนักศึกษาที่นับถือศาสนาอิสลาม ประวัติประธานฯ จำนวนสมาชิกและแนวทางการเคลื่อนไหว จนนำไปสู่เสียงวิพากษ์วิจารณ์จากนักสิทธิมนุษยชน และนักวิชาการนั้น   อ...
ความขัดแย้งทางชาติพันธุ์
8 พฤษภาคม 2019

ถอดบทเรียนวินาศกรรมศรีลังกา: ความขัดแย้งทางชาติพันธุ์ กระแสต่อต้านอิสลาม และการก่อการร้ายระหว่างประเทศ

ประเทศศรีลังกา หรือชื่ออย่างเป็นทางการ ‘สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา’ เป็นประเทศที่มีลักษณะเป็นเกาะกลางทะเล ตั้งอยู่ในมหาสมุทรอินเดีย โดยในทางภูมิรัฐศาสตร์จัดอยู่ในกลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชียใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดียทางตะวันตกเฉียงเหนือและมัลดีฟส์ทางตะวันตกเฉียงใต้ ศรีลังกามีประชากรทั้งหมดประมาณ 22 ล้านคน ส่วนใหญ่กว่า 70.1% เป็นชาวสิงหลที่น...
protest-bruneis-anti-gay-law
3 เมษายน 2019

นานาชาติคัดค้านกฎหมายชารีอะห์ของบรูไน โทษหนัก ปาหิน-ตัดมือ-แขวนคอ หลังเริ่มใช้วันแรกวันนี้

กลายเป็นกระแสข่าวครึกโครมในสื่อออนไลน์ทั่วโลก หลังจากรัฐบาลบรูไนประกาศใช้กฎหมายชารีอะห์ ซึ่งกำหนดบทลงโทษขั้นรุนแรง ไม่ว่าจะเป็นการตัดมือผู้กระทำผิดฐานลักขโมย การเฆี่ยนตี แขวนคอ รวมทั้งอาจถูกปาหินจนเสียชีวิต สำหรับกลุ่ม LGBTQ ที่มีเพศสัมพันธ์กันภายในประเทศบรูไน โดยจะเริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันนี้ (3 เม.ย.)   นานาชาติ สหประชาชาติ รวมถึงกล...


Close Advertising