×

คณะราษฎร

26 กรกฎาคม 2024

ศาลอาญาสั่งจำคุก ‘อานนท์ นำภา’ คดี ม.112 อีก 4 ปี ไม่รอลงอาญา ให้นับโทษต่อจาก 3 คดีก่อนหน้า

วานนี้ (25 กรกฎาคม) ที่ศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก ศาลนัดฟังคำพิพากษาคดี อ735/2564 ที่อัยการเป็นโจทก์ฟ้อง อานนท์ นำภา ทนายความ และแกนนำกลุ่มราษฎร เป็นจำเลยฐานความผิดประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 และ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มาตรา 14 วรรคหนึ่ง   จำเลยถูกขังและให้การปฏิเสธต่อสู้คดี   อัยการฟ้องว่า จำเลยใช้สื่อโซเชียลเฟซบุ๊กผ่านสมาร์ทโ...
การปกครอง
24 มิถุนายน 2024

ทายาทคณะราษฎรร่วมทำบุญแก่บรรพบุรุษ ในโอกาส 92 ปี การเปลี่ยนแปลงการปกครอง

วันนี้ (24 มิถุนายน) เนื่องในโอกาสครบรอบ 92 ปี การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย โดยให้พระมหากษัตริย์อยู่ใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475    ในเช้าวันนี้ ณ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร ทายาทสมาชิกคณะผู้เปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 หรือคณะราษฎร นำโดย สุดา และ ดุษฎี พนมยงค์ ทายาท...
แก้รัฐธรรมนูญ
15 พฤศจิกายน 2023

รัฐบาลเปิดทำเนียบฟังความเห็นแก้รัฐธรรมนูญ อดีตแกนนำคณะราษฎร สมัชชาคนจน และ iLaw ร่วมวงด้วย

วันนี้ (15 พฤศจิกายน) รัฐบาลเปิดตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล ต้อนรับตัวแทน 15 กลุ่มจากหน่วยงานรัฐ ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน สื่อมวลชน รวมทั้งศิลปินและดารา เข้าร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูล พร้อมทั้งรับฟังความเห็นเกี่ยวกับแนวทางในการทำประชามติ เพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560    โดยในวันนี้ เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่...
28 มิถุนายน 2023

28 มิถุนายน 2475 – คณะราษฎรจัดประชุมสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกหลังปฏิวัติสยาม

คณะราษฎรจัดประชุมสภาผู้แทนราษฎรขึ้นเป็นครั้งแรก ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2475 หรือ 4 วันหลังเหตุการณ์ปฏิวัติสยาม ซึ่งเป็นอีกจุดเปลี่ยนสำคัญของประวัติศาสตร์ไทย และทำให้ราชอาณาจักรไทยมีรัฐธรรมนูญฉบับแรก    โดยการประชุมสภานัดแรกประกอบด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการแต่งตั้ง 70 คน ซึ่งที่ประชุมมีมติแต่งตั้งพระยา...
ชาติชาย มุกสง
24 มิถุนายน 2023

ชาติชาย มุกสง: ‘ก๋วยเตี๋ยว’ อาหารของทุกชนชั้น สู่เมนูประชาธิปไตย กับเผด็จการแบบ ‘แกงบวน’

เนื่องในโอกาส 24 มิถุนายน ครบรอบการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ แม้กาลเวลาจะล่วงเลยเข้าปีที่ 91 แต่มรดกจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองของคณะราษฎรยังคงอยู่และใช้มาจนถึงปัจจุบัน    หนึ่งในมรดกนั้นคืออาหารและวัฒนธรรมการกินของคนไทย โดยเฉพาะเมนู ‘ก๋วยเตี๋ยว’ ที่เป็นที่รู้จักและเป็นที่นิยม...
พระยามโนปกรณ์นิติธาดา
24 มิถุนายน 2023

2 สถานะของ ‘พระยามโนปกรณ์นิติธาดา’ หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง นายกฯ คนแรก และผู้เริ่มก่อรัฐประหาร

  เมื่อ 92 ปีมาแล้ว การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งสำคัญที่เกิดขึ้นในเวลาเช้าตรู่ของวันที่ 24 มิถุนายน พุทธศักราช 2475 ได้นำความเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญมาสู่ชีวิตของข้าราชการผู้หนึ่ง ผู้มีเกียรติยศชื่อเสียงปรากฏมาแต่เดิมว่าเป็นนักกฎหมายมือสะอาดให้ต้องละทิ้งชีวิตที่เงียบสงบที่มีมาแต่เดิมก้าวเข้าสู่ตำแหน่งประมุขฝ่ายบริหารคนแรกของประเทศในระบบป...
โหวตเพื่อเปลี่ยน
22 มีนาคม 2023

แกนนำราษฎรเปิดแคมเปญ ‘โหวตเพื่อเปลี่ยน’ ชวนประชาชนแสดงพลังประชาธิปไตย ร่วมกันเอาชนะผ่านการเลือกตั้ง

วันนี้ (22 มีนาคม) ที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย แกนนำราษฎรและเครือข่ายจัดกิจกรรมเชิงสัญลักษณ์และอ่านแถลงการณ์ต่อการยุบสภาและการเลือกตั้ง พร้อมเปิดตัวแคมเปญ ‘โหวตเพื่อเปลี่ยน’ สำหรับการเลือกตั้ง 2566 เพื่อแสดงจุดยืนและข้อเรียกร้องทางการเมือง   โดยในแถลงการณ์มีใจความว่า สืบเนื่องจากการยุบสภาในวันที่ 20 มีนาคม 2566 สัญญาณสำคัญในการสิ้นสุดยุคสมั...
8 พฤศจิกายน 2022

8 พฤศจิกายน 2490 – รัฐประหาร 2490 ปิดฉากอำนาจคณะราษฎร

การรัฐประหารในวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 เกิดขึ้นจากความร่วมมือระหว่างกลุ่มทหารและกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยม มีผลทำให้รัฐบาลพลเรือนของกลุ่ม ปรีดี พนมยงค์ ตกจากอำนาจไป และเป็นจุดเริ่มต้นของการกลับมามีอำนาจของกลุ่มทหารและกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยม ตลอดจนเป็นจุดเริ่มต้นของการเพิ่มอำนาจทางการเมืองให้กับพระมหากษัตริย์ภายหลังการปฏิวัติในปี 2475   ...
คณะราษฎรยังไม่ตาย
25 มิถุนายน 2022

เปิดลานคนเมืองจัดกิจกรรมฉลองวันชาติ 24 มิถุนา ‘คณะราษฎรยังไม่ตาย’

วานนี้ (24 มิถุนายน) กิจกรรม ‘24 มิถุนา วันชาติ คณะราษฎรยังไม่ตาย’ ที่ลานคนเมือง โดยเร่ิมตั้งขบวนมาจากอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ในขบวนประกอบด้วย กลุ่ม WeVo, ธรรมศาสตร์และการชุมนุม, กลุ่มคนเสื้อแดง, นนทบุรีปลดแอก, ทะลุฟ้า, นักเรียนเลว และนักกิจกรรมอิสระ   โดยตลอดการเดินขบวนมีการเปิดเพลงวันชาติ 24 มิถุนา ซึ่งเคยถูกเปิดเป็นครั้งแรกในวันชาติปี 2...
มรดกคณะราษฎร
24 มิถุนายน 2022

ย้อนรอยมรดกคณะราษฎร ประวัติศาสตร์ที่ถูก (บังคับ) ให้ลืม

หลังการอภิวัฒน์สยามของคณะราษฎรในปี 2475 มรดกที่ทิ้งไว้มิใช่เพียงแค่ประชาธิปไตยที่อยู่จวบจนวันนี้ แต่ยังคงมีมรดกอื่นที่ทิ้งร่องรอยไว้ให้หวนนึกถึงวันเปลี่ยนผ่านการปกครอง ทว่า วันนี้...เมื่อสำรวจมรดกหลายชิ้นของคณะราษฎร กลับค่อยๆ เลือนหายไปตามกาลเวลา    THE STANDARD ชวนย้อนรอยมรดกคณะราษฎรในประวัติศาสตร์การปกครอง ที่วันนี้กำลังจะกลายเป็น...


Close Advertising
X
Close Advertising