×

การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

ศาลอาญา
21 พฤษภาคม 2024

ศาลอาญาระหว่างประเทศคืออะไร มีอำนาจแค่ไหน เมื่อเนทันยาฮู-ผู้นำฮามาสอาจถูกออกหมายจับ

หลังจากที่มีรายงานศาลอาญาระหว่างประเทศ (ICC) พิจารณาออกหมายจับ ยาห์ยา ซินวาร์ ผู้นำกลุ่มฮามาส และ เบนจามิน เนทันยาฮู นายกรัฐมนตรีอิสราเอล จากเหตุโจมตีที่อิสราเอลเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2023 และสงครามในฉนวนกาซาที่สืบเนื่องกันมานั้น    ทำให้หลายฝ่ายตั้งคำถามว่า ศาลอาญาระหว่างประเทศคืออะไร มีบทบาทและมีอำนาจแค่ไหน หากทั้งสองถูกออกหมายจับแล...
อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ
21 พฤษภาคม 2024

อาชญากรรมสงคราม อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ต่างกันอย่างไร?

หลายคนคงเคยได้ยินข้อกล่าวหาที่ว่า ก่อ อาชญากรรมสงคราม (War Crime) ก่ออาชญากรรมต่อมนุษยชาติ (Crimes Against Humanity) และการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) ซึ่งมักปรากฏในหน้าประวัติศาสตร์ความขัดแย้งหรือสงคราม และมีหลายบุคคลที่เผชิญกับข้อหาเหล่านี้   กรณีตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ การที่อัยการศาลอาญาระหว่างประเทศ (International Criminal Court: ...
ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์รวันดา
7 เมษายน 2024

ON THIS DAY: 7 เมษายน 1994 ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์รวันดา

เหตุการณ์ ‘ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์รวันดา (Rwandan Genocide)’ หรือที่รู้จักกันในชื่อ ‘การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ต่อชนกลุ่มน้อยชาวทุตซี (Genocide Against the Tutsi)’ เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 7 เมษายน - 15 กรกฎาคม 1994 ในช่วงสงครามกลางเมืองรวันดา โดยกองกำลังติดอาวุธชาวฮูตู (Hutu) ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของรวันดา ลงมือสังหารหมู่ชาวทุตซี ตลอดจนชาวฮูตูสายกลาง และชาวทวา...
27 มกราคม 2024

27 มกราคม – วันรำลึกการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยนาซี

สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติมีมติกำหนดให้วันที่ 27 มกราคม เป็นวันรำลึกการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์สากล (การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์) เพื่อรำลึกถึงเหยื่อของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยนาซีเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งส่งผลให้ชาวยิวกว่า 1 ใน 3 ถูกฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ พร้อมด้วยชนกลุ่มน้อยอื่นๆ จำนวนนับไม่ถ้วน   มติของ UN มีขึ้นภายหลังการประชุมวาระพิเศษ เพื่อ...
29 ธันวาคม 2023

29 ธันวาคม 1998 – ผู้นำเขมรแดงขอโทษสาธารณชนต่อเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

เขียว สัมพัน และ นวน เจีย สองผู้นำเขมรแดง กล่าวขอโทษสาธารณชนต่อการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวกัมพูชากว่า 1.7 ล้านคน ที่เกิดขึ้นในยุคการปกครองของเขมรแดงระหว่างปี 1975-1979   โดย นวน เจีย อ้างว่า การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์นั้นเกิดขึ้นเพราะต้องการชนะสงคราม ขณะที่ เขียว สัมพัน กล่าวว่า “เขาเสียใจเป็นอย่างยิ่ง ไม่ใช่แค่ต่อชีวิตของผู้คน แต่ยังรวมถึงชีวิตขอ...
กลุ่มชาติพันธุ์อาร์เมเนีย
26 กันยายน 2023

กลุ่มชาติพันธุ์อาร์เมเนียอพยพจากพื้นที่พิพาท หวั่นอาเซอร์ไบจานกวาดล้างเผ่าพันธุ์

กลุ่มชาติพันธุ์เชื้อสายอาร์เมเนียจำนวนมากทยอยอพยพออกจากภูมิภาคนากอร์โน-คาราบัคไปยังอาร์เมเนีย ภายหลังกองทัพอาเซอร์ไบจานเข้ายึดครองพื้นที่พิพาทตั้งแต่สัปดาห์ที่แล้ว   โดยนายกรัฐมนตรีนิโคล ปาชินเนียน ระบุว่า การอพยพมีขึ้นท่ามกลางความหวาดกลัวอันตรายจากการกวาดล้างเผ่าพันธุ์กลุ่มชาติพันธุ์อาร์เมเนีย ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่พิพาทนากอร์โน-คาราบัคก...
เปรู ประท้วง
11 มกราคม 2023

เปรูเปิดการสอบสวนประธานาธิบดีข้อหาฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ หลังเหตุประท้วงลุกลามหนักจนยอดตายแตะ 40 ราย

วานนี้ (10 มกราคม) สำนักงานอัยการสูงสุดของเปรูได้ดำเนินการสอบสวน ดินา โบลัวร์เต ประธานาธิบดีคนใหม่ของเปรู และสมาชิกในคณะรัฐมนตรีอีกหลายคน หลังเปรูเผชิญกับเหตุประท้วงรุนแรงตั้งแต่ต้นเดือนธันวาคม 2022 จนเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตแล้วอย่างน้อย 40 ราย และบาดเจ็บอีกหลายร้อยราย   อัยการสูงสุดของเปรูกล่าวว่า ขณะนี้ทางการกำลังดำเนินการสอบสวนเบื้อ...
22 ธันวาคม 2022

อดีตเลขานุการนาซีวัย 97 ปี ถูกตัดสินจำคุก ฐานมีส่วนร่วมในการฆาตกรรมกว่า 10,000 ศพ

อดีตเลขานุการในค่ายกักกันของนาซี วัย 97 ปี ถูกตัดสินว่ามีความผิดฐานสังหารชาวยิวและผู้ที่ไม่ใช่ชาวยิวจำนวน 10,505 คนในช่วงการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ หรือโฮโลคอสต์ (Holocaust)    เออร์มการ์ด เฟอร์ชเนอร์ ทำงานเป็นพนักงานพิมพ์ดีดและจดชวเลขที่ค่ายกักกันนาซีชตุตโฮฟ (Stutthof) ใกล้กับเมืองกดัญสก์ (Gdansk) ของโปแลนด์ที่ถูกนาซียึดครอง โดยเธอปฏิบัต...
การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์
13 เมษายน 2022

ไบเดนเรียกความโหดร้ายในยูเครนว่า ‘การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์’ เป็นครั้งแรก

ประธานาธิบดีโจ ไบเดน แห่งสหรัฐฯ กล่าวเมื่อวันอังคาร (12 เมษายน) ว่า ความโหดร้ายที่กำลังปรากฏให้เห็นในยูเครน เข้าข่ายการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ซึ่งเป็นคำนิยามที่เขาเคยหลีกเลี่ยงมาก่อน แต่บัดนี้เขาเชื่อว่ามีเหตุผลอันสมควรแล้วที่จะใช้คำนี้ เมื่อได้เห็นภาพการทำลายล้างที่เกิดขึ้นในเมืองต่างๆ ที่กองทัพรัสเซียบุกโจมตี   “ผมเรียกว่าการฆ่าล้างเผ่าพันธ...
Rwanda
7 เมษายน 2022

7 เมษายน 1994 – เริ่มวันฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่รวันดา

รากเหง้าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในรวันดา ย้อนกลับไปตั้งแต่ปี 1990 เมื่อประธานาธิบดี Juvénal Habyarimana ซึ่งเป็นชาวฮูตู (Hutu) กลุ่มชาติพันธุ์หลักของประเทศ ได้เริ่มปลุกกระแสต่อต้านชนกลุ่มน้อยชาวทุตซี (Tutsi) ซึ่งมีจำนวนเพียงร้อยละ 10 ของประชากรชาวรวันดาทั้งหมด สงครามกลางเมืองระหว่างรัฐบาลฮูตู และแนวร่วมรักประเทศชาติรวันดา (The Rwanda Patriotic Front: R...

X
Close Advertising