ประเด็นใหญ่ในสังคมวันนี้ที่ถูกหยิบยกขึ้นมาพูดถึงมากขึ้นเรื่อยๆ น่าดีใจตรงที่เป็นโอกาสให้เราเข้าใจกันมากขึ้น และคนที่มีปัญหาสุขภาพทางจิตใจก็จะได้เข้าใจตัวเองมากขึ้นด้วย วันนี้เราได้คุยกับคนที่ได้สัมผัสประเด็นนี้ด้วยตัวเอง และอยากแชร์ให้ทุกคนฟัง… เป็นภาษาอังกฤษ (มีคลิปพร้อมซับไตเติลให้ที่ YouTube Channel ของ THE STANDARD)
Time Index
2:23 การทลายกำแพงและยอมรับอีกมุมชีวิตของพีชชี่
8:54 เข้าใจโรค เข้าใจร่างกาย เข้าใจคน
13:30 ไฟในการทำงานที่เผาไหม้ตัวเองในที่สุด
24:33 หรี่ไฟให้เหมาะ แล้วไปต่อ
29:13 ‘Identity Crisis’ และพีชชี่
So I see it as a health issue and how I handled a health issue, and tackle it in the normal way that people would normally tackle the health issue.
ตอนนี้เรามองมันเป็นแค่ปัญหาสุขภาพอย่างหนึ่ง และเราจะรับมือและจัดการกับเรื่องนั้นอย่างไรในแบบธรรมดาๆ ที่คนทั่วๆ ไปก็จัดการกับปัญหาสุขภาพกัน
When those two things combined (work & hobby) and blurred, you lost that free space of yours, and I think that lots of people are falling into that path now.
เมื่อเรื่องงานและงานอดิเรกมาผสมปนเปกัน เราจะสูญเสียพื้นที่เวลาของตัวเอง และคิดว่าตอนนี้หลายๆ คนก็กำลังเป็นแบบนั้นอยู่
Sometimes it’s not an actual syndrome, sometimes it could just be ‘ภาวะซึมเศร้า หรือภาวะบางอย่าง’, it could be fixed. It comes and goes, you could recover it yourself or you just seek help for it, like, just don’t take it personal, don’t be too harsh, don’t be too hard on yourself
บางทีมันก็ไม่ใช่โรค บางทีมันก็แค่ ‘ภาวะซึมเศร้า หรือภาวะบางอย่าง’ ที่หายได้ มันมาแล้วก็ไป เราเองก็หายได้ หรือจะขอความช่วยเหลือก็ได้ อย่าเก็บไว้คนเดียว อย่าใจร้ายกับตัวเองขนาดนั้น
สามารถฟังพอดแคสต์ คำนี้ดี
ผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ ที่คุณสะดวกหรือใช้อยู่แล้วได้เลย
Credit
The Host ภูมิชาย บุญสินสุข
Show Creator & Producer ภูมิชาย บุญสินสุข
Sound Designer & Engineer กฤตพล จียะเกียรติ
Marketing & Coordinator อภิสิทธิ์ หรรษาภิรมย์โชค
Art Director อนงค์นาฏ วิวัฒนานนท์
Illustrator Khunkhom
Proofreader ภาวิกา ขันติศรีสกุล
Webmaster ไชยพร ศิริกลการ