×

ดร.สมประวิณ มันประเสริฐ

28 กุมภาพันธ์ 2023

นโยบายเศรษฐกิจไทย: การเมือง / ประชาชน / วงวิชาการ

อีกไม่กี่เดือนก็จะถึงวันเลือกตั้งทั่วไปแล้วครับ  แท้จริงแล้ว การเลือกตั้งเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการได้มาซึ่งนโยบายสาธารณะ โดยการเลือกบุคคลที่จะเป็นตัวแทนของเราในการร่วมกำหนดนโยบายสาธารณะ การเลือกตั้งจึงสะท้อนทิศทางการพัฒนาของระบบเศรษฐกิจไทย   พรรคการเมืองประกาศแนวนโยบายเศรษฐกิจออกมาอย่างคับคั่ง น่าสนใจว่านโยบายเศรษฐกิจที่พรรคการเมือ...
11 กุมภาพันธ์ 2023

นโยบายเศรษฐกิจ Do’s & Don’ts

“[…] when workers get higher wages and better working conditions through the free market, […], those higher wages are at nobody’s expense. They can only come from higher productivity, greater capital investment, more widely diffused skills. The whole pie is bigger - there’s more for the worker, but there’s also more for the employer, the investor, ...
4 ธันวาคม 2022

ปัญหาหนี้ครัวเรือน สัญญาณเตือนของวิกฤตเศรษฐกิจ

“Economic disasters are almost always preceded by a large increase in household debt.” - Atif Mian John H. Laporte, Jr. Class of 1967 Professor of Economics, Princeton university   หากกล่าวถึงวิกฤตเศรษฐกิจโลกจะต้องกล่าวถึงภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ หรือ The Great Depression ในปี 1929-1939 และวิกฤตเศรษฐกิจการเงินโลก หรือ Global Financial Cr...
27 ตุลาคม 2022

‘ร่วมกันเป็นเจ้าของ ร่วมกันปกป้อง’ ทางออกของปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

สถานการณ์อุทกภัยเป็นหนึ่งความท้าทายสำคัญของเศรษฐกิจไทยในปีนี้ ถ้าปริมาณน้ำฝนเป็นไปตามที่กรมอุตุนิยมวิทยาคาดไว้ EIC ประเมินว่า จะมีพื้นที่ประสบอุทกภัยทั้งสิ้น 5.7 ล้านไร่ โดยภาคเกษตรจะได้รับความเสียหายเป็นมูลค่า 2.7 พันล้านบาท หรือ 0.07% ของ GDP[i]   สังเกตว่าในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา เศรษฐกิจไทยเผชิญกับภัยพิบัติทางธรรมชาติมาโดยตลอด ข้อมูลจาก...
22 กันยายน 2022

‘ส่วนต่างรายได้’ กับนโยบายรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจ

“เมื่อเศรษฐกิจเจริญขึ้น การแบ่งสรรรายได้ของประเทศจะแตกต่างออกไป บุคคลบางคนอาจร่ำรวยมากขึ้น แต่บุคคลบางคนอาจจนลงก็ได้ ในเรื่องเหล่านี้… ต้องพิจารณาและหาทางแก้ไขอยู่เสมอ …เพื่อให้ความสุขแก่คนโดยทั่วถึง” - หนังสือ เศรษฐกิจแห่งประเทศไทย เขียนโดย ป๋วย อึ๊งภากรณ์ และ คุณหญิงสุภาพ ยศสุนทร ข่าวที่เกี่ยวข้อง กูรูชี้ ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร...
ครัวเรือนไทย
31 สิงหาคม 2022

ครัวเรือนไทยพร้อมหรือไม่กับโลกที่มีความเสี่ยงมากขึ้น?

“People face substantial, even catastrophic, risk throughout most of the developing countries of the world. […] Even in developing countries such as Thailand, with modest per capita incomes on average, farmers in one locality can face fluctuations in net income that are substantial relative to other localities or to the nation as a whole.” - Robert...
เศรษฐกิจไทย เงินเฟ้อ
25 กรกฎาคม 2022

เศรษฐกิจไทย พร้อมหรือไม่ หากใช้ยาแรงแก้ปัญหาเงินเฟ้อ?

“By the time I became chairman and there was more of a feeling of urgency, there was a willingness to accept more forceful measures to try to deal with the inflation”   Paul Adolph Volcker Jr. Chair of the Federal Reserve (1979-1987)   ในเดือนมีนาคม 1980 Paul Volcker ผู้ว่าการธนาคารกลางสหรัฐฯ เผชิญความท้าทายในการดำเนินนโยบา...
ความไว้เนื้อเชื่อใจต่อการดำเนินนโยบายสาธารณะ
17 มิถุนายน 2022

Ted Talks เผย ‘เชื่อใจเพราะมีส่วนร่วม’ ความไว้เนื้อเชื่อใจต่อการดำเนินนโยบายสาธารณะ

ย้อนกลับไปเมื่อปี 2016 Rachel Botsman นักวิจัยและผู้สอนจาก Saïd Business School มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด เริ่มการบรรยายบนเวที Ted Talks โดยการสำรวจผู้ฟังว่า ใครบ้างที่เคยเช่าหรือให้เช่าที่พักผ่าน Airbnb ใครบ้างที่ถือ Bitcoin ซึ่งคนส่วนใหญ่ในห้องบรรยายยกมือขึ้น เธอตั้งข้อสังเกตที่น่าสนใจอย่างยิ่งว่า   ‘These are all examples of how technolog...
หนี้ครัวเรือน
6 พฤษภาคม 2022

‘ชักหน้าให้ถึงหลัง’ แก้กับดักหนี้ครัวเรือนอย่างยั่งยืนด้วยการปรับโครงสร้างเชิงสถาบันของระบบการเงินและพลังท้องถิ่น

ในช่วงต้นปีที่ผ่านมา ผมมีโอกาสได้เดินทางไปยังบ้านโนนเจริญศิลป์ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร ทางเข้าหมู่บ้านเป็นดินลูกรัง เมื่อรถตู้ของเราวิ่งผ่านถนนที่รายล้อมไปด้วยต้นกล้วยของชาวหมู่บ้าน จึงทำให้ฝุ่นสีแดงฟุ้งกระจายตลบอบอวลไปตลอดทาง ผมเดินทางมาที่นี่เพื่อเรียนรู้พลวัตทางเศรษฐกิจและวิถีชีวิตของ ‘คนฐานราก’ บ้านโนนเจริญศิลป์มีลูกบ้าน 236 ครัวเรือน ชาวบ...
25 กุมภาพันธ์ 2022

‘สร้างสรรค์ ปรับตัว เชื่อมต่อ’ ทำธุรกิจอย่างไรให้อายุยืนอย่างยิ่งใหญ่

ระบบเศรษฐกิจโลกผ่านปรากฏการณ์สำคัญมาแล้วหลายครั้ง บางปรากฏการณ์เป็น ‘วิกฤต’ เช่น วิกฤตราคาน้ำมันในช่วง 1970 วิกฤตเศรษฐกิจการเงินโลกในปี 2008 และล่าสุดคือวิกฤตการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด บางปรากฏการณ์เป็น ‘การปฏิวัติอุตสาหกรรม’ นับตั้งแต่การคิดค้นแท่นพิมพ์ Gutenberg การคิดค้นคอมพิวเตอร์ในช่วงปี 1970 จนมาถึงการปฏิวัติดิจิทัลในปัจจุบัน   ปรา...

MOST POPULAR

Close Advertising