×

Opinion

27 ตุลาคม 2017

ถอดบทเรียนโลกการทำงานของในหลวงรัชกาลที่ 9 (ตอนที่ 2)

     การได้เห็นวิธีการทรงงานตลอดพระชนม์ชีพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เป็นเหมือนตำราเล่มใหญ่สำหรับคนทำงานที่ทำให้เห็นทั้งวิธีการทำงานที่นำไปสู่การพัฒนาอันยั่งยืน ทั้งยังได้รับกำลังใจอันยิ่งใหญ่จากพระองค์ หากเราเรียนรู้จากพระองค์และดำเนินตามรอยเบื้องพระยุคลบาทได้ นอกจากจะทำให้งานของเราบรรลุผลสำเร็จได้แล้ว ยั...
25 ตุลาคม 2017

จากคลีโอพัตราถึงชาวมายัน พลานุภาพของภูเขาไฟและความสนุกของประวัติศาสตร์

     เรามักคิดว่าพระนางคลีโอพัตราแห่งราชวงศ์ปโตเลมีสูญสิ้นอำนาจไปเพราะความรัก เป็นเรื่องราวโรแมนติกของโศกนาฏกรรมอียิปต์ที่ทำให้ต้องสิ้นแผ่นดินกับกรุงโรม      หลายคนอาจมองกว้างกว่านั้นขึ้นอีกหน่อยว่านี่คือเรื่องการเมืองระหว่างรัฐโรมันกับอียิปต์ที่มีความรักเข้ามาเกี่ยวพันด้วยเพียงเล็กน้อยระหว่างพระนางคลีโอพัตราและมาร์...
24 ตุลาคม 2017

ทำไมผู้หญิงได้เงินเดือนน้อยกว่าผู้ชาย? ไขคำตอบด้วยผลวิจัยทางเศรษฐศาสตร์

     สำหรับคุณผู้หญิงทั้งหลาย คุณว่าคุณได้รับเงินเดือนเท่ากับเพื่อนร่วมงานที่มีตำแหน่งหน้าที่เท่ากันกับคุณ แตกต่างกันแค่ว่าเขาเป็นผู้ชายไหมครับ      จากงานวิจัยของนักเศรษฐศาสตร์ในสิงคโปร์พบว่า โดยเฉลี่ยแล้วในประเทศไทยของเรา เงินเดือนของผู้ชายมักจะสูงกว่าเงินเดือนของผู้หญิงที่มีหน้าที่การงาน รวมไปถึงอายุและการศึกษาเท่...
24 ตุลาคม 2017

‘พระราชานักกีฬา’ ในดวงใจ

  1.        บิดเข็มนาฬิกาย้อนเวลากลับไปเมื่อ 54 ปีที่แล้ว      วันนั้น โผน กิ่งเพชร ยอดนักชกขวัญใจชาวไทยกำลังป้อแป้หลังโดน ไฟติ้ง ฮาราดะ ไอ้หนุ่มกำปั้นเหล็กจากญี่ปุ่นไล่ชกจนแทบไม่เหลือทรงแชมป์โลกคนแรกของไทย      6 ยกที่ผ่านมา ‘กระทิงเผือก’ (สมญาของฮาราดะที่น่าจะบ่งบอกได้ดีว่าสไตล์การ...
24 ตุลาคม 2017

วายัง อมฤต นวนิยายอิงประวัติศาสตร์ โดย อนุสรณ์ ติปยานนท์ (บทที่ 8)

บทที่แปด      ข้าพเจ้าออกจากตำหนักของกรมพระฯ ในอีกหนึ่งชั่วโมงถัดมา ท้องฟ้าของบันดุงในยามบ่ายใสกระจ่าง มาเม็ตยืนรอข้าพเจ้าอยู่ที่รถของเขาแล้ว แต่ข้าพเจ้ากลับไม่ปรารถนาที่จะขึ้นไปบนยวดยานนั้น มีบางสิ่งที่รบกวนจิตใจและมโนสำนึกของข้าพเจ้าอย่างรุนแรง ถ้อยคำของกรมพระฯ ที่พูดถึงหญิงสาวผู้มีใบหูยาวกว่าหญิงสาวทั่วไปทำให้ข้าพเจ้าประหวัดถึง...
19 ตุลาคม 2017

วิทยาศาสตร์แห่งความเศร้า : ความเศร้าก็มีประโยชน์

     ทำไมเราถึงรู้สึกเศร้า      คำถามนี้ฟังดูบ้าๆ อยู่สักหน่อย เพราะใครๆ ก็รู้ว่าอาการเศร้าจะเกิดขึ้นเมื่อมีอะไรบางอย่างเกิดขึ้นในชีวิตของเรา เช่น ความตาย ความสูญเสีย ล้มเหลว หรือแม้กระทั่งมีความขัดแย้งกับคนอื่น      ความเศร้าเป็นอารมณ์พื้นฐาน (Basic Emotions) อย่างหนึ่งของมนุษย์ จริงๆ แล้วมีการแบ่...
19 ตุลาคม 2017

‘ดีพอ’ หรือ ‘พอดี’

     ผมเชื่อว่าในยุคนี้เวลาจะซื้อจะหาของสิ่งไหนมาใช้กัน นอกจากเรื่องการใช้งาน (function) คงมองกันที่เรื่องของการออกแบบ (design) ด้วยใช่ไหมครับ ไม่ได้ว่าอะไรนะครับ เพราะผมเองก็เป็นแบบนั้นเช่นกัน ยิ่งถ้าอยู่ในวงการออกแบบ ไม่ว่าจะเป็นด้านสถาปัตยกรรม ด้านโปรดักต์ดีไซน์ ยิ่งถ้าเป็นพวกร้านค้าออนไลน์ ถ้าหากว่าเราเลือกของเก๋ๆ โดนๆ มาขายได้ก็...
18 ตุลาคม 2017

ถอดบทเรียนโลกการทำงานจากรัชกาลที่ 9 (ตอนที่ 1)

     ถอดบทเรียนในโลกของการทำงานในคราวนี้ ผมขอถอดบทเรียนจากคนทำงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในชีวิตที่ผมเคยได้เห็นมา บุคคลที่ทำงานหนักมาตลอดทั้งชีวิต เป็นถึง CEO ขององค์กรใหญ่ระดับประเทศแต่กลับไม่มีวันหยุด ไม่มีโบนัส แต่อุทิศชีวิตเพื่องานที่ตัวเองรัก และทำงานที่รักนั้นให้เกิดประโยชน์สุขกับคนทั้งประเทศ      ใช่ครับ บุคคลที่ผมก...
16 ตุลาคม 2017

Richard Thaler เจ้าของรางวัลโนเบลเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมผู้ค้นพบความไร้เหตุผลของมนุษย์

     “นิค ยูรู้ไหมว่าเขาเพิ่งประกาศว่านักจิตวิทยาเป็นหนึ่งในสองคนที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ของปีนี้ไป” เพื่อนร่วมออฟฟิศดีกรีปริญญาเอกของผมพูดขึ้นมาอย่างลอยๆ      “เขาชื่อแดเนียล คาฮ์นะมัน (Daniel Kahneman)” เพื่อนของผมบอก      ปีนั้นเป็นปี 2002 ผมซึ่งในขณะนั้นกำลังเรียนปริญญาเอกเป็นปีที่สอง...
16 ตุลาคม 2017

รัชกาลที่ 9 ผู้นำที่ยิ่งใหญ่

     เราเคยตั้งคำถามกันไหมว่าปัจจัยใดที่ทำให้ประเทศหรือองค์กรใหญ่สามารถยืนหยัดผ่านร้อนผ่านหนาว ผ่านเหตุการณ์ทั้งร้ายและดีต่างๆ จนมีความแข็งแกร่งและยั่งยืนได้      ในหนังสือ Good To Great เล่าว่า ปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลให้องค์กรที่ดีกลายเป็นองค์กรที่ยิ่งใหญ่และยั่งยืนนั้น ส่วนหนึ่งที่สำคัญมาจากตัว ‘ผู้นำ’ ครับ แต่ผู้นำที...

MOST POPULAR

X
Close Advertising