×

Guest

15 เมษายน 2020

การคาดการณ์เชิงกลยุทธ์ (Strategic Foresight) หลังวิกฤตโควิด-19 มุมมองที่ผู้บริหารควรมี

ในสถานการณ์ที่โลกกำลังตกอยู่ในสภาวะวิกฤตโควิด-19 ประเทศต่างๆ ทั่วโลกมากกว่า 200 ประเทศรวมถึงประเทศไทยต้องเผชิญกับผลกระทบและปัญหาที่ตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาด้านสาธารณสุข ปัญหาด้านความมั่นคง รวมถึงปัญหาด้านเศรษฐกิจ   วิธีคิดหลังเกิดวิกฤต หลังจากเกิดวิกฤต ผู้บริหารองค์กรหลายคนคงกำลังคิดเหมือนๆ กันว่าทำไมบริษัทของตนไม่...
14 เมษายน 2020

ครัวเรือนเกษตรเมื่อไรจะได้รับการเยียวยา? ผ่ามรสุมราคาพืชผลตกต่ำ ภัยแล้ง และโควิด-19

จากสถิติของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) มีครัวเรือนเกษตรจำนวน 5.91 ล้านครัวเรือน ที่อยู่ในภาวะชราภาพ (หัวหน้าครัวเรือนอายุเฉลี่ย 57 ปี) (ในปีการผลิต 2560/61) สศก. ได้เปิดเผยข้อมูลว่า รายได้จากการเกษตรต่อครัวเรือนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อปีเฉลี่ยร้อยละ 7.6    ซึ่งดูเหมือนจะดี มีอนาคต แต่เมื่อเจาะลึกลงไปจะพบว่า พวกเขามีรายได้เพียงครัวเ...
13 เมษายน 2020

มองไปข้างหน้า ชีวิต (ใหม่?) ของคนไทยหลังเส้นตายมาตรการปิดเมือง 30 เมษายน 2563

แน่นอนว่าคนไทยจำนวนมากที่กักตัวอยู่ในบ้านในขณะนี้คาดหวังที่จะได้กลับไปใช้ชีวิตที่ปกติหรือเกือบปกติหลังวันที่ 30 เมษายน 2563 ที่กำลังจะมาถึงในอีกไม่ถึง 3 สัปดาห์ข้างหน้า แม้ว่าหลายจังหวัดจะยังเพิ่มความเข้มข้นด้วยมาตรการปิดเมือง แต่จังหวัดเหล่านั้นต่างก็กำหนดเวลาปิดเมืองไว้ถึงแค่ 30 เมษายนแทบทั้งนั้น    ถึงแม้ว่าจะมีบางจังหวัดที่ระวัง...
มาตรการเยียวยาโควิด-19
13 เมษายน 2020

เมื่อมาตรการเยียวยาโควิด-19 กลายเป็นหลักฐานความเหลื่อมล้ำทางดิจิทัลที่ไม่ได้รับการเยียวยา

เมื่อวันที่ 24 มีนาคมที่ผ่านมา ม.ร.ว.จัตุมงคล โสณกุล รัฐมนตรีกระทรวงแรงงาน แถลงว่า คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้แก้กฎกระทรวงการได้รับผลประโยชน์ทดเเทนในกรณีว่างงานเนื่องจากมีเหตุสุดวิสัย โดยให้ครอบคลุมถึงกรณีโรคระบาดเเละให้มีผลใช้บังคับตั้งเเต่วันที่ 1 มีนาคม ถึง 31 สิงหาคม 2563    มาตรการเยียวยานี้มุ่งเป้าไปที่แรงงาน ลูกจ้าง และอาชีพอิสระ ...
9 เมษายน 2020

เปิดเมืองอย่างไรให้เศรษฐกิจขยับและคุมการระบาดได้

ผมเชื่อว่าคำถามที่ก้องอยู่ในใจคนจำนวนมากขณะนี้ คืออะไรจะเกิดขึ้นหลังครบกำหนดปิดเมืองวันที่ 30 เมษายน 2563 เราจะยังต้องปิดเมืองต่อไปไหม จะปิดแบบลดความเข้มข้น เพราะตัวเลขคนติดเชื้อที่เพิ่มน้อยลงในระยะหลัง หรือปิดแบบเพิ่มความเข้มข้น เพราะยังไม่แน่ใจว่ามีคนติดเชื้อที่ไม่แสดงอาการอยู่อีกเท่าไร    คนส่วนใหญ่คงทำใจแล้วว่าไม่มีทางเปิดทุกอย่...
9 เมษายน 2020

โควิด-19 ผลกระทบกับอุตสาหกรรมดนตรีระดับโลกครั้งล่าสุดนับจากยุค MP3 ระบาด (ตอนที่ 1)

https://www.youtube.com/watch?v=o5TmORitlKk&feature=youtu.be   ตอนที่ 1: What’s Going On   นี่เพิ่งจะสิ้นไตรมาสแรกของปี 2020 รังสีแห่งความเศร้าสร้อยพารานอยด์หงอยเหงาระคนได้เข้ามาครอบคลุมดาวเคราะห์น้อยๆ ของเราเข้าอย่างจังโดยไม่ทันตั้งตัว ทั่วทุกหัวระแหงต่างได้รับผลกระทบจากหายนะครั้งใหม่ที่คงไม่ต้องอธิบายว่ามันคืออะไร เพราะแ...
9 เมษายน 2020

ดูแลสุขภาพการเงินอย่างไรในยุคโควิด-19 เมื่อต้อง Work from Home รายได้หด รายจ่ายเพิ่ม

ณ เวลานี้ ชีวิตของหลายๆ คนได้รับผลกระทบจากโควิด-19 กันไม่มากก็น้อย หลายคนมีรายได้ลดลงและต้องใช้ชีวิตในบ้านเพื่อฝ่าวิกฤตครั้งนี้ไปด้วยกัน เราลองมาสำรวจกันหน่อยว่าจะมีเทคนิคการจัดการเงินอย่างไร และหลังจากเหตุการณ์นี้เราสามารถวางแผนการเงินยามฉุกเฉินกันอย่างไร   สิ่งแรกที่ต้องทำคือเริ่มจากการสำรวจค่าใช้จ่ายกันก่อน    สำรวจค่า...
6 เมษายน 2020

เมื่อโควิด-19 เข้ามาเปลี่ยนชีวิตทุกคน บ้าน ย่าน และเมือง อาจต้องถึงเวลาออกแบบกันใหม่

บทความนี้ต้องการเสนอการประยุกต์แนวความคิดการออกแบบเพื่อทุกคน หรือ Universal Design ในการปรับกระบวนทัศน์ใหม่ให้งานออกแบบสถาปัตยกรรมบ้าน ย่าน และเมือง ในยุคที่เรากำลังเผชิญความท้าทาย 2+1 ด้านคือ 1. การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีดิจิทัลและระบบออนไลน์อย่างรวดเร็ว 2. ความไม่สมดุลของโครงสร้างประชากร และที่บวกอีกหนึ่งด้านคือการแพร่ระบาดอย่างกว้างและรวดเร็วของโรค...
2 เมษายน 2020

การกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัส กับการกลายพันธุ์และสูญพันธุ์ของภาคการผลิต

“การกลายพันธุ์ (Mutation) มันเป็นกุญแจสำคัญในวิวัฒนาการของเรา มันทำให้เราสามารถวิวัฒนาการจากสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวไปสู่สายพันธุ์ที่โดดเด่นบนโลก กระบวนการนี้ช้าและใช้เวลานานนับพันปี แต่ทุกๆ ไม่กี่ร้อยสหัสวรรษ วิวัฒนาการจะก้าวกระโดดไปข้างหน้า” - ศ.ชาร์ลส์ เซเวียร์ จากภาพยนตร์ X-Men (2000)   ผมเป็นแฟนทั้งคอมิกและภาพยนตร์ X-Men ครับ แม้คำกล่า...
29 มีนาคม 2020

ปรับตัว ปรับใจ ทำงานที่บ้านอย่างไรให้ได้งาน ในวันที่มนุษย์ต้อง WFH พร้อมกันทั้งโลก

ชีวิตในฝันของหนุ่มสาวออฟฟิศคือการได้ทำงานที่บ้าน แต่พอฝันเป็นจริงจากเหตุโควิด-19 ก็มีคนจำนวนหนึ่งปรับตัวได้ดี ขณะที่อีกจำนวนหนึ่งอึดอัดและเกิดอาการบิดเบี้ยว เพราะปรับตัวได้ไม่ดีนัก พร้อมกับความเจ็บปวดในใจที่การทำงานของเราไม่ได้แสดงคุณค่าให้คนได้เห็นเท่าการทำงานในพื้นที่สำนักงานตามปกติ   รายงานของ United Nations ในปี 2017 พบว่า คนทำงานในส...

MOST POPULAR


Close Advertising