×

โตมร ศุขปรีชา

10 มกราคม 2018

A Bug’s Brain: สมองแมลง – แมลงก็มีสมอง

เกณฑ์หนึ่งที่คาร์ล ลินเนียส ใช้จำแนกสัตว์ในกลุ่มแมลง หรือ Insecta ก็คือสัตว์กลุ่มนี้ไม่มีสมอง ถ้าถามว่าทำไมคาร์ล ลินเนียส จึงคิดว่าแมลงไม่มีสมอง คำตอบนั้นง่ายมาก เพราะว่าถ้าเราตัดหัวของแมลงออก มันก็จะยังแสดงพฤติกรรมแบบเดิมได้อยู่ กอมเต เดอ บูฟอง (Comte de Buffon) นักธรรมชาติวิทยาชาวฝรั่งเศสในยุคศตวรรษที่ 18 เคยเขียนถึงแมลงหลายชนิดว่า ถ้าถูกตัด...
27 ธันวาคม 2017

เมืองใต้น้ำ บ้านพับได้ เครื่องพิมพ์บ้านสามมิติ เราจะอยู่กันอย่างไรในโลกอนาคต?

ใครๆ ก็รู้ใช่ไหมครับว่าในอนาคตอันใกล้นี้ โลกของเราต้องเผชิญกับปัญหาสิ่งแวดล้อมแน่ๆ เพราะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะทำให้สภาพแวดล้อมของเราเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วและรุนแรงอย่างที่เราคิดไม่ถึง คำถามก็คือ แล้วเราจะอยู่กันต่อไปอย่างไรดี สหประชาชาติบอกว่าในราว 100 ปีข้างหน้า โลกจะมีประชากรพุ่งสูงขึ้นไปถึง 1.13 หมื่นล้านคน คือแม้ประชากรในหลายประ...
18 ธันวาคม 2017

The Perks of Being Too Smart ฉลาดเกินไปอาจไม่ดี

ใครๆ ก็อยากเป็นคนฉลาดใช่ไหมครับ   ความฉลาดมีประโยชน์ตั้งหลายอย่าง อย่างที่เราเห็นๆ กันอยู่โดยทั่วไป ความฉลาดอาจทำให้เราไม่ถูกหลอกได้ง่าย ความฉลาดอาจทำให้เราเรียนเก่ง ทำงานเก่ง ฯลฯ ความฉลาดจึงดูเหมือนเป็นสิ่งพึงปรารถนาของคนทั่วไป   อย่างไรก็ตาม ที่พูดๆ กันมาทั้งหมดนี้ ไม่ได้มีอะไรเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยันว่าความฉลาดเป็นเรื่...
8 ธันวาคม 2017

ไขมันจากพุงคือยาวิเศษ!

1   ใครๆ ก็บอกว่าความอ้วนเป็นศัตรูตัวร้าย ซึ่งก็เป็นอย่างนั้นจริงๆ นั่นแหละครับ เพราะ ‘โรคอ้วน’ (Obesity) ก่อให้เกิดอันตรายได้มากมายหลายอย่างดังที่เรารู้ๆ กันอยู่ แต่ต้นเหตุอย่างหนึ่งที่ทำให้เกิดความอ้วนคือ ‘ไขมัน’ ที่ ‘พุง’ ของคุณนี่สิครับ มันไม่ได้เป็นแค่ต้นเหตุแห่งความอ้วนเท่านั้นนะครับ แต่มีการค้นพบใหม่ๆ ที่บ่งชี้ว่าเจ้าไขมันพวก...
4 ธันวาคม 2017

คุณคือฝุ่นอวกาศ

คาร์ล เซแกน (Carl Sagan) เคยบอกว่ามนุษย์เราแท้จริงคือ ‘ละอองดาว’ หรือ Stardust ฟังดูฝันๆ สวยๆ เหมือนปรัชญาหลอมรวมเราเข้ากับจักรวาลใช่ไหมครับ   แต่แท้จริงแล้ว ต้องบอกคุณว่านี่ไม่ใช่แค่เรื่องปรัชญาฝันเพ้อเท่านั้น   แต่มันคือเรื่องจริง   ต้องบอกคุณก่อนว่า ในบรรดาสิ่งมีชีวิตทั้งหลายแหล่บนโลกใบนี้ สิ่งที่ถือเป็น ‘Buildin...
20 พฤศจิกายน 2017

วิทยาศาสตร์ของฝุ่น (2) ฝุ่นสร้างชีวิต แต่ฆ่าไดโนเสาร์

1        คุณเกลียดฝุ่นไหมครับ      หลายคนคงบอกว่าเกลียดสิ ฝุ่นเป็น ‘ตัวร้าย’ จะตายไป เพราะฝุ่นทำให้เกิดอาการป่วยได้หลายอย่าง อย่างเบาะๆ ก็คืออาการภูมิแพ้ แต่ถ้าหนักไปกว่านั้น ฝุ่นอย่างผงแอสเบสทอส (Asbestos) ก็อาจทำให้เป็นมะเร็งปอดได้เลยทีเดียว ดังนั้นจึงต้องมีการควบคุมฝุ่นทั้งหลายตั้งแต่ฝุ่นจากท่อไอเสียรถยน...
13 พฤศจิกายน 2017

วิทยาศาสตร์ของฝุ่น เมื่อปิกัสโซมีฝุ่นเป็นเพื่อน

     “คุณรู้ไหมว่าอะไรเป็นตัวการรับผิดชอบ ฝุ่นไง! โลกไม่ได้มีแม่บ้านมาคอยปัดฝุ่นนะ ฝุ่นร่วงหล่นลงมาทุกวันและยังอยู่ตรงนั้น ทุกอย่างที่เราพบเห็นจากในอดีตล้วนมีฝุ่นคอยรักษาไว้ ตรงนี้ มองของเหล่านี้สิ ในอีกไม่กี่สัปดาห์ ฝุ่นหนาก็จะก่อตัวขึ้น ในห้องบางห้องของฉัน...ของบางอย่างเริ่มเลือนหายไปแล้ว มันฝังตัวอยู่ในฝุ่น คุณรู้อะไรไหม ฉันมักห้า...
25 ตุลาคม 2017

จากคลีโอพัตราถึงชาวมายัน พลานุภาพของภูเขาไฟและความสนุกของประวัติศาสตร์

     เรามักคิดว่าพระนางคลีโอพัตราแห่งราชวงศ์ปโตเลมีสูญสิ้นอำนาจไปเพราะความรัก เป็นเรื่องราวโรแมนติกของโศกนาฏกรรมอียิปต์ที่ทำให้ต้องสิ้นแผ่นดินกับกรุงโรม      หลายคนอาจมองกว้างกว่านั้นขึ้นอีกหน่อยว่านี่คือเรื่องการเมืองระหว่างรัฐโรมันกับอียิปต์ที่มีความรักเข้ามาเกี่ยวพันด้วยเพียงเล็กน้อยระหว่างพระนางคลีโอพัตราและมาร์...
19 ตุลาคม 2017

วิทยาศาสตร์แห่งความเศร้า : ความเศร้าก็มีประโยชน์

     ทำไมเราถึงรู้สึกเศร้า      คำถามนี้ฟังดูบ้าๆ อยู่สักหน่อย เพราะใครๆ ก็รู้ว่าอาการเศร้าจะเกิดขึ้นเมื่อมีอะไรบางอย่างเกิดขึ้นในชีวิตของเรา เช่น ความตาย ความสูญเสีย ล้มเหลว หรือแม้กระทั่งมีความขัดแย้งกับคนอื่น      ความเศร้าเป็นอารมณ์พื้นฐาน (Basic Emotions) อย่างหนึ่งของมนุษย์ จริงๆ แล้วมีการแบ่...
9 ตุลาคม 2017

วิทยาศาสตร์ของการอายุ 40s (และแถม 70s ให้นิดหน่อย)

     ฝรั่งบอกว่า ชีวิตเริ่มต้นเมื่อสี่สิบ      ที่จริงแล้ว ถ้าจะบอกว่าคือการเริ่มต้นอะไรสักอย่าง สำหรับหลายคน สี่สิบน่าจะเป็นการเริ่มต้น ‘ปิดม่าน’ ละครแห่งชีวิตมากกว่าอะไรอื่น      บอกแบบนี้ หลายคนที่เลยสี่สิบไปแล้วอาจจะนึกค้านว่า โอ๊ย! ปิดม่านปิดฉากอะไรกัน ฉันห้าสิบหกสิบ (หรือบางคนไปถึงเจ็ดสิบเก้า...

MOST POPULAR


Close Advertising
X