×

โตมร ศุขปรีชา

11 มีนาคม 2019

โลกร้อนอาจทำให้สิ้นชาติ อุณหภูมิโลกอาจพุ่งขึ้นได้ถึง 14 องศาเซลเซียส มนุษย์เขตร้อนหมดทางรอดชีวิต

ในท่ามกลางกระแสการเมืองร้อนแรงนี้ อยู่ๆ ผมก็นึกถึงการเปรียบเทียบของ นพ.ประเวศ วะสี เรื่อง ‘ไก่ในเข่ง’ ขึ้นมา   ‘ไก่ในเข่ง’ ของคุณหมอประเวศมีนัยหมายถึงการแตกความสามัคคีจะทำให้เกิดความล่มสลาย เหมือนไก่ในเข่งที่เขาจะเอาไปเชือดแต่ก็ยังจิกตีกันเป็นสามารถ แต่ ‘ไก่ในเข่ง’ ที่ผมนึกถึงกลับไม่ใช่เรื่องเชิงสังคมการเมืองแบบนั้น ทว่าเป็นเรื่องวิทยาศา...
Hubris Syndrome
1 มีนาคม 2019

โอหัง คลั่งอำนาจ รู้จัก Hubris Syndrome อาการยอดฮิตของผู้นำประเทศ

​นักประวัติศาสตร์การแพทย์ที่ศึกษาเรื่อง ‘ความบ้า’ (Madness) อย่าง รอย พอร์เตอร์ (Roy Porter) เคยเขียนเอาไว้ใน A Social History of Madness ว่า   ประวัติศาสตร์ของความบ้า ก็คือประวัติศาสตร์ของอำนาจ เพราะเมื่อจินตนาการถึงอำนาจขึ้นมาแล้ว ความบ้าก็เป็นได้ทั้งไร้สมรรถภาพใดๆ โดยสิ้นเชิง หรือไม่ก็อาจทรงพลังครอบจักรวาลได้ เราต้องใช้อำนาจเพื่อควบคุ...
5 กุมภาพันธ์ 2019

วิทยาศาสตร์เบื้องหลังแรงขับเคลื่อน: ทำไมเราถึงไม่มีแรงบันดาลใจในการทำสิ่งต่างๆ

คำว่า ‘แรงขับเคลื่อน’ ในที่นี้มาจาก Motivation ซึ่งต้องถือว่าเป็นเรื่องสำคัญมากๆ สำหรับทั้งการทำงานและการใช้ชีวิต   ที่จริงแล้วพูดได้ถึงขั้นที่ว่าแรงขับเคลื่อนคือ ‘เหตุผล’ ที่เราทำอะไรบางอย่างด้วยซ้ำ มันทำให้เราเกิดความตั้งใจมุ่งมั่นที่จะเดินไปสู่เป้าหมาย แรงขับเคลื่อนไม่ได้แค่ ‘ผลักดัน’ ให้เราทำสิ่งต่างๆ เท่านั้นนะครับ แต่มันยังทำให้เรา...
25 มกราคม 2019

Sex Education: ผู้ชายควรหลั่งน้ำอสุจิมากครั้งแค่ไหน

เคยได้ยินคำพูดที่ว่า ‘ผู้ชายควรหลั่งน้ำอสุจิ (ไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ ก็ตาม) เดือนละ 21 ครั้ง’ ไหมครับ   ว่ากันว่าการได้หลั่งน้ำอสุจิบ่อยๆ จะช่วยป้องกันหรือลดอัตราการเกิดมะเร็งต่อมลูกหมากได้   แต่อย่างแรกก็คือนี่เป็นเรื่องจริงหรือเปล่า และการหลั่งถึงเดือนละ 21 ครั้งไม่มากเกินไปหรือ (แต่ในบางคนก็อาจจะถามตรงข้ามว่าไม่ ‘น้อย’ ไปหน่อยหร...
5 มกราคม 2019

พายุคืออะไร ทำความเข้าใจกายวิภาคของพายุหมุนเขตร้อน

ไม่ใช่เรื่องปกตินักที่จะมีพายุเข้าไทยในช่วงเดือนมกราคม แต่นี่น่าจะเป็นคร้ังแรกๆ ที่เกิดพายุใหญ่อย่าง ‘ปาบึก’ ในยุคที่การสื่อสารก้าวหน้ามาก เราจึงเห็นภาพการ ‘ตื่นตัว’ อย่างจริงจังของทั้งภาครัฐและประชาชน เห็นการรายงานข่าว การอพยพผู้คนออกจากพื้นที่ การให้ข้อมูลเรื่องศูนย์อพยพ หรือ Shelter ต่างๆ ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องดีในเรื่องร้าย   เรื่องดีใ...
21 ธันวาคม 2018

วิทยาศาสตร์แห่งคริสต์มาส อะไรคือดาวแห่งเบธเลเฮม พระเยซูประสูติเมื่อไรกันแน่ และใครคือสามโหราจารย์

ในรัชสมัยกษัตริย์เฮโรด พระเยซูประสูติในเมืองเบธเลเฮม แคว้นยูเดีย หลังจากพระองค์ประสูติไม่นาน มีพวกโหราจารย์บางท่านเดินทางมาจากประเทศทางทิศตะวันออกของแคว้นยูเดียมาสู่กรุงเยรูซาเล็ม เที่ยวเสาะถามว่า   “พระกุมารที่จะมาเป็นจอมกษัตริย์ของชนชาติยิวประสูติที่ไหน เราเห็นดาวประจำพระองค์ขึ้นทางทิศตะวันออก จึงพากันมานมัสการพระองค์” พระคัมภีร์ไบเบิ...
17 ธันวาคม 2018

ฟังเพลงเศร้า แต่ทำไมเราถึงรู้สึกดี: วิทยาศาสตร์แห่งการฟังเพลง

คุณเคยสงสัยไหมครับว่าทำไมเวลาเราฟังเพลงที่ทำให้นึกถึงอดีตอันแสนเศร้า เราถึงกลับรู้สึก ‘มีความสุข’ ขึ้นมาได้ ทั้งที่เรื่องนั้นมันเศร้าจริงๆ นะ   มีการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัย (ที่ไม่รู้ว่าอ่านชื่อว่าอะไร) Jyväskylä ในฟินแลนด์ รายงานอยู่ในวารสาร Nature การศึกษานี้มีชื่อว่า Music Evokes Powerful Positive Emotions Through Persona...
12 ธันวาคม 2018

ทำอย่างไรไม่ให้ Toxic: วิทยาศาสตร์ของการเปลี่ยนสารเคมีในสมอง

เวลาเราอยากจะเปลี่ยนพฤติกรรมอะไรสักอย่างที่คุ้นชินเป็นเวลานานๆ (เช่นในที่นี้ก็คือพฤติกรรมที่ ‘Toxic’ (คลิกอ่าน Toxic Thinking: วิธีคิดแบบ Toxic กับอาการเสพติดพิษร้ายในสมอง) ไม่ใช่ว่าเราจะลุกขึ้นมาแล้วสามารถเปลี่ยนได้ในทันทีนะครับ   ใครมีเพื่อน Toxic มากๆ แล้วบอกเพื่อนว่า “เธอต้องเปลี่ยนแปลงตัวเองสิ มันไม่ใช่เรื่องยากหรอก ทำตัวดีๆ ใครๆ ก็...
3 ธันวาคม 2018

Toxic High: คนเสพติดความ Toxic มีวิธีคิดแบบไหน แล้วเราเป็นหนึ่งในนั้นหรือเปล่า

อย่างที่คุยกันไปในตอนก่อนหน้านี้ (คลิกอ่านว่าความคิดร้ายๆ แบบ Toxic นั้นเป็นเรื่องที่ ‘เสพติด’ ได้)   คำถามก็คือ อะไรคือความคิดที่ ‘Toxic’ บ้าง   ตัวอย่างของความคิด Toxic ก็คือความกลัว ความโกรธ ความละอาย ความรู้สึกผิด ซึ่งซ่อนอยู่ข้างในลึกๆ แล้วระเบิดออกมาเป็นพฤติกรรมทีหลัง สิ่งที่ซ่อนอยู่ข้างในหรือ Toxic Thinking นั้นเป็นสิ่ง...
23 พฤศจิกายน 2018

วิทยาศาสตร์ของน้ำส้มคั้น: ในกล่องน้ำส้มมีภัยร้ายอะไรซ่อนอยู่บ้าง

สมัยเรียนมัธยม คุณครูชีววิทยาสอนให้ท่องจำน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว เวลามาจับคู่กันแล้วกลายเป็นน้ำตาลโมเลกุลคู่ว่า ‘กลูฟรุกซู กลูกาแล็กแล็ก กลูกลูมอน’   ​แม้ฟังดูแปลกๆ เหมือนคาถาของแฮรี่ พอตเตอร์ อยู่สักหน่อย แล้วก็ไม่ค่อยเป็นวิทยาศาสตร์ เพราะสอนให้นักเรียนท่องจำ แต่เชื่อไหมว่า คาถาน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวๆ คู่ๆ ที่ว่านี้ ทำให้ยังจำได้ติดหัวติดหูม...

MOST POPULAR

Close Advertising