×

พิพัฒน์ กระแจะจันทร์

21 กุมภาพันธ์ 2020

ทำไมต้องมีพิพิธภัณฑ์ชาติพันธุ์แห่งชาติ ถอดบทเรียนผ่านไต้หวัน บ้านเดิมของบรรพชนมลายู

ไทเปมักเป็นจุดหมายปลายทางของใครหลายคนที่ไปเที่ยวไต้หวัน แต่น้อยคนจะรู้ว่าก่อนที่คนจีนนับล้านจะอพยพจากแผ่นดินใหญ่อันเป็นผลมาจากปัญหาความขัดแย้งของอุดมการณ์ทางการเมืองแล้วไปก่อตั้งประเทศไต้หวันขึ้นนั้น เกาะแห่งนี้ถือได้ว่าเป็น ‘Homeland’ หรือถิ่นฐานดั้งเดิมหรือต้นกำเนิดของบรรพชนทางภาษาของชาวมลายูในภาคใต้ของไทยอีกด้วย ซึ่งมีประวัติความเป็นมายาวนานหลาย...
15 กุมภาพันธ์ 2020

ชาติพันธุ์ของริชชี่ ‘มูเซอ’ ผู้ลงมาจากหลังคาโลก รุ่นแรกมาในสมัยรัชกาลที่ 5

ถ้า ม้า อรนภา แค่ไล่ริชชี่ให้กลับบ้าน ไม่ใช่กลับดอย คงไม่เป็นกระแสดราม่าเท่านี้ เพราะคำว่า ‘ดอย’ นั้นมันสื่อถึงการเป็นบ้านนอก เป็นบ้านป่าเมืองเถื่อน ดังนั้น เป็นเรื่องที่ต้องระมัดระวังในการใช้ถ้อยคำ   ในยุคสมัยหนึ่งช่วงกระแสคอมมิวนิสต์แรงๆ คนไทยเหยียดชาวเขาชาวดอยมาก บางคนถึงกับมองว่า ‘ชาวเขา’ นั้นไม่ใช่ ‘ชาวเรา’ เพราะเอาคำมาเล่นกับความหม...
7 กุมภาพันธ์ 2020

สำรวจวัดและปราสาทเขมรยุคปลาย เมื่อเถรวาทรุ่งเรืองในเมืองพระนคร

นอกจากปราสาทบายนและพระราชวังหลวงที่ถือเป็นจุดเด่นของเมืองนครธมแล้ว ถ้าใครเคยไปเที่ยวจะเห็นได้ว่า ตลอดถนนสองข้างทางนั้นมีวัดพุทธอยู่หลายแห่ง ที่เห็นชัดๆ คือรอบปราสาทบายนมีวัดที่ยังมีพระสงฆ์และแม่ชีประจำวัดมากถึง 3 แห่งด้วยกัน นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่อาจคิดว่าเป็นวัดใหม่ ก็จะละเลย ไม่ได้เข้าไปดู บ้างก็ไม่มีเวลา ไกด์ไม่พาเข้าไปบ้าง หรือไม่ ความยิ่งใหญ่ขอ...
28 มกราคม 2020

โรคระบาดมีมาตั้งแต่ยุคหิน นับตั้งแต่มนุษย์เริ่มรวมกลุ่มกันเป็นสังคมหมู่บ้าน

โรคระบาดไม่ได้เกิดขึ้นในสมัยประวัติศาสตร์เท่านั้น หากแต่ได้ทิ้งร่องรอยให้เราเห็นในช่วงก่อนประวัติศาสตร์เช่นกัน โดยทางทฤษฎีแล้ว โรคระบาดรุนแรงมักเกิดขึ้นในสังคมที่คนรวมกลุ่มกันหนาแน่น โดยเฉพาะนับตั้งแต่ยุคหินใหม่เป็นต้นไป เพราะเป็นยุคแรกเริ่มที่มนุษย์เริ่มอยู่กันเป็นสังคมในระดับหมู่บ้าน บ้างมีขนาดเล็ก บ้างมีขนาดใหญ่ ต่างจากในสมัยก่อนหน้านี้ที่เป็นสั...
20 มกราคม 2020

โบราณคดีเมืองละแวก สำรวจเมืองที่พระนเรศวรเคยยกทัพไปตี

ผมเชื่อว่า คนไทยหลายคนรู้จักเมืองละแวกผ่านตำราเรียนวิชาประวัติศาสตร์และภาพยนตร์ว่า เมืองนี้เป็นเมืองที่สมเด็จพระนเรศวรทรงยกทัพไปตีเมื่อ พ.ศ. 2136 แล้วทรงประกอบพระราชพิธีปฐมกรรม ซึ่งคนไทยมักเข้าใจกันไปตามพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาว่า เป็นการประหารพระยาละแวก (นักพระสัตถา) แล้วเอาโลหิตมาล้างพระบาท    อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันแทบไม่มีนัก...
3 มกราคม 2020

2020 ปีที่เทคโนโลยีจะช่วยในการค้นพบทางโบราณคดี จนอาจนำไปสู่การเขียนประวัติศาสตร์กันใหม่

ตลอดปีที่ผ่านมา มีการค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีใหม่ๆ ที่น่าสนใจมากมายทั้งในไทยและต่างประเทศ หลักฐานบางอย่างสามารถช่วยไขปริศนาประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติให้ชัดขึ้น จนต้องเขียนประวัติศาสตร์กันใหม่ทีเดียว ในขณะที่บางอย่างคงต้องทำการค้นคว้ากันต่อไป เพราะประวัติศาสตร์ของมนุษย์นั้นยาวนานนับแสนนับล้านปี  บทความนี้นอกจากผมจะสรุปว่ามีอะไรใหม่ๆ ที่ค้นพบบ้...
18 ธันวาคม 2019

เมื่อน้ำแข็งละลาย อารยธรรมจึงเปิดเผย ภาวะโลกร้อนกับการค้นพบหลักฐานโบราณคดี

น้ำท่วมเมืองเวนิส คือตัวอย่างหนึ่งของผลกระทบจากภาวะโลกร้อนต่อเมืองโบราณ แน่นอนครับ เป็นเรื่องที่คนทั้งโลกต้องตระหนักกันว่ามนุษย์ได้ทำลายสิ่งแวดล้อมไปมากแค่ไหน และควรช่วยกันชะลอภาวะดังกล่าวอย่างไร แต่ในสิ่งที่เลวร้ายก็มักมีสิ่งที่ดีอยู่บ้าง หลังจากที่ธารน้ำแข็งหลายแห่งเริ่มละลายลง ได้เผยให้เห็นถึงร่องรอยของมนุษย์ในสมัยโบราณที่ซ่อนตัวอยู่นานนับพันปี&...
Tutankhamun
7 ธันวาคม 2019

สมบัติฟาโรห์ตุตันคาเมน เวิลด์ทัวร์ครั้งสุดท้ายที่ลอนดอน ก่อนกลับไปไคโร

ปี 1922 นับเป็นศักราชเริ่มต้นของความหลงใหลต่ออารยธรรมอียิปต์ที่แพร่กระจายไปทั่วโลก อันเป็นผลมาจากการค้นพบสุสานของฟาโรห์ตุตันคาเมน และยังเป็นจุดเริ่มต้นของตำนานเกี่ยวกับคำสาปของฟาโรห์อีกด้วย    เมื่อเร็วๆ นี้ ‘สมบัติของฟาโรห์ตุตันคาเมน’ จำนวนมากถึง 150 ชิ้นได้เดินทางเวียนมาจัดแสดงที่ซาตชีแกลเลอรี (Saatchi Gallery) กรุงลอนดอน ภายใต้ชื...
Xenoarchaeology Space Archaeology
22 พฤศจิกายน 2019

โบราณคดีจากฟากฟ้า: รอยเท้าบนดวงจันทร์ การสืบค้นมนุษย์ต่างดาว และนาซกาไลน์

นับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ได้ก้าวหน้าไปอย่างก้าวกระโดด รายงานแปลกๆ เกี่ยวกับการเห็นมนุษย์ต่างดาวเริ่มมีมากขึ้น โดยเฉพาะเมื่อยานอพอลโล 11 ได้นำมนุษย์คนแรกไปเหยียบบนพื้นผิวดวงจันทร์ หลังจากนั้นก็ปรากฏรายงานการเห็นจานบินและมนุษย์ต่างดาวเพิ่มมากขึ้นอย่างผิดหูผิดตา พร้อมกับมีทฤษฎีใหม่ๆ ที่เชื่อว่า ปิรามิดก็ดี สโต...
โมอาย
1 พฤศจิกายน 2019

ทวงคืนโมอาย รูปปั้นหินแห่งจิตวิญญาณ หรือเพียงวัตถุจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์

กระแสการทวงคืนโบราณวัตถุตามมิวเซียมต่างๆ ในต่างประเทศยังคงเป็นไปอย่างต่อเนื่อง อันเป็นผลมาจากการตระหนักรู้ถึงสิทธิของชนพื้นเมืองหรือประเทศภายใต้อาณานิคมที่มากขึ้น  เมื่อหลายเดือนก่อน ที่บริติช มิวเซียม ซึ่งอยู่ไม่ห่างจากบ้านพักผมที่ลอนดอน ผมได้ข่าวว่า มีชนพื้นเมืองจากเกาะอีสเตอร์มาทำพิธีกรรมขอทวงคืนประติมากรรมขนาดยักษ์ที่คนทั่วโลกรู้จักกันใ...

MOST POPULAR

Close Advertising