×

ชนาธิป ไชยเหล็ก

ยาคุมกำเนิด
1 มิถุนายน 2021

ยาคุมกำเนิดและวัคซีนโควิด-19 ทำให้ลิ่มเลือดอุดตันจริงหรือไม่

ปลายสัปดาห์ก่อนมีข่าวหญิงอายุ 32 ปีเสียชีวิตจากภาวะลิ่มเลือดอุดตันที่ปอดเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2564 แต่ก่อนหน้านั้นประมาณ 2 สัปดาห์ผู้เสียชีวิตได้รับการฉีดวัคซีน Sinovac เข็มที่ 1 เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคมที่โรงพยาบาลในจังหวัดสงขลา และเริ่มมีอาการวูบตั้งแต่วันที่ 19 พฤษภาคม ทำให้หลายคนตั้งข้อสังเกตว่า   ต้องหยุดยาคุมกำเนิดก่อนฉีดวัคซีนโควิด...
วัคซีน Sinopharm
27 พฤษภาคม 2021

เจาะลึก Sinopharm วัคซีนม้ามืดอีกหนึ่งความหวังของไทยที่ อย. เตรียมรับรอง

วัคซีนโควิด-19 ที่หน่วยงานในสังกัดของรัฐบาลจัดหาให้ประชาชนจะไม่ได้มีเพียง 2 ยี่ห้อ คือวัคซีน AstraZeneca ของอังกฤษ-สวีเดน และวัคซีน Sinovac ของจีนอีกต่อไป เมื่อราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์เตรียมจัดหาวัคซีน Sinopharm ซึ่งเป็นอีกบริษัทหนึ่งของจีนเข้ามาเป็น ‘วัคซีนทางเลือก’ ในประเทศไทย แล้วเรารู้อะไรบ้างเกี่ยวกับวัคซีนยี่ห้อนี้   วัคซีน Sinopharm เป็น...
AstraZeneca vaccine
26 พฤษภาคม 2021

วัคซีน AstraZeneca เลื่อนฉีดเข็ม 2 ห่างกัน 16 สัปดาห์ได้จริงไหม

ปกติก็นานอยู่แล้ว - เพราะเข็มที่ 2 ของวัคซีน AstraZeneca เว้นระยะห่างจากเข็มแรกนานกว่าของวัคซีนยี่ห้ออื่น โดยเอกสารกำกับยาของวัคซีนนี้ระบุขนาดการใช้ยาว่า ‘การฉีดกระตุ้นเข็มท่ี 2 ควรให้หลังจากการฉีดเข็มแรก 4 ถึง 12 สัปดาห์’ คณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจึงกำหนดให้ฉีดวัคซีน 2 เข็มห่างกัน 10-12 สัปดาห์   เทียบกับวัคซีนที่ต้องฉีดทั้ง...
โควิด-19 สายพันธุ์แอฟริกาใต้
23 พฤษภาคม 2021

ทำไมโควิด-19 สายพันธุ์แอฟริกาใต้ถึงน่ากังวล

  สายพันธุ์ ‘อินเดีย’ ไม่ทันหาย สายพันธุ์ ‘แอฟริกาใต้’ ก็เข้ามาแทรก สายพันธุ์อินเดียพบครั้งแรกในแคมป์คนงานหลักสี่ กรุงเทพฯ แต่ครั้งนี้เกิดขึ้นที่ชายแดนไทย-มาเลเซีย    เมื่อวานนี้ (22 พฤษภาคม) กลุ่มพันธมิตร COVID-19 Network Investigations (CONI) ได้รายงานการตรวจพบไวรัสโคโรนา 2019 สายพันธุ์แอฟริกาใต้ในประเทศไทยเป็นครั้งแรก...
เจาะลึกโควิด-19 สายพันธุ์อินเดียที่พบในแคมป์คนงานหลักสี่
21 พฤษภาคม 2021

เจาะลึกโควิด-19 สายพันธุ์อินเดียที่พบในแคมป์คนงานหลักสี่

โควิด-19 สายพันธุ์อินเดีย มีในระบบ Pango lineage ว่า B.1.617 หลายคนอาจเคยได้ยินว่าเป็น ‘การกลายพันธุ์คู่’ (Double Mutant) เพราะมีการกลายพันธุ์ที่ตำแหน่ง L452R และ E484Q บนสไปค์ (Spike) ที่ยื่นออกมาจากไวรัส ค้นพบครั้งแรกในประเทศอินเดีย เมื่อเดือนตุลาคม 2563 จนกระทั่งเป็นสายพันธุ์ที่ทำให้กราฟจำนวนผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตในอินเดียพุ่งขึ้นราวกับปล่อยจรวด...
วัคซีนที่ดีที่สุด คือ…? มุมมองของรัฐ vs. ประชาชน
21 พฤษภาคม 2021

วัคซีนที่ดีที่สุด คือ…? มุมมองของรัฐ vs. ประชาชน

วัคซีนที่ดีที่สุด คือ…? วัคซีนที่มี วัคซีนที่ได้ฉีดเร็วที่สุด วัคซีนที่มีอยู่และสามารถฉีดได้ในเวลาที่เร็วที่สุด   วัคซีนที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุด วัคซีนที่ประชาชนมั่นใจ หรือไม่ได้อยู่ในขวด แต่คือหน้ากากอนามัย   ไม่ว่าจะเป็นวัคซีนอะไรก็แล้วแต่ หรือเป็นคำเรียกโดยรวม เช่น ‘วัคซีนที่มี’ ซึ่งตอนนี้ไทยมีวัคซีน AstraZe...
ฉีดวัคซีน Pfizer ในวัยรุ่น ทางออกสำหรับการเปิดโรงเรียนตามปกติ?
20 พฤษภาคม 2021

ฉีดวัคซีน Pfizer ในวัยรุ่น ทางออกสำหรับการเปิดโรงเรียนตามปกติ?

ถึงแม้เด็ก/วัยรุ่นจะมีโอกาสติดเชื้อน้อยกว่า และเมื่อติดเชื้อแล้วจะมีความรุนแรงต่ำกว่าผู้ใหญ่ แต่โควิด-19 ก็สามารถระบาดในสถานรับเลี้ยงเด็ก/โรงเรียนได้ เพราะเด็ก/วัยรุ่นมักทำกิจกรรมกันเป็นกลุ่มกับเพื่อน ขณะที่บางกิจกรรมไม่สามารถสวมหน้ากากฯ ได้ตลอดเวลา และเมื่อเกิดการระบาดขึ้นก็อาจกลับไปแพร่เชื้อที่บ้านของแต่ละคนด้วย   ความกังวลดังกล่าวส่งผ...
จากโรงงานถึงเรือนจำ: มาตรการ Bubble & Seal คืออะไร จะใช้ได้ผลไหมใน ‘ราชทัณฑ์คลัสเตอร์’
18 พฤษภาคม 2021

จากโรงงานถึงเรือนจำ: มาตรการ Bubble & Seal คืออะไร จะใช้ได้ผลไหมใน ‘ราชทัณฑ์คลัสเตอร์’

ไม่ว่าจะเป็นการระบาดของโควิด-19 ในเรือนจำ ตั้งแต่ช่วงต้นเมษายน 2564 ที่มีการระบาดในเรือนจำจังหวัดนราธิวาส เรือนจำกลางเชียงใหม่ช่วงปลายเมษายน เรือนจำในเขตกรุงเทพฯ ต้นเดือนพฤษภาคม และตอนนี้ข่าววนกลับไปกลับมาระหว่างเชียงใหม่-กรุงเทพฯ มาตรการที่ได้ยินบ่อยๆ คือ ‘บับเบิลแอนด์ซีล’ (Bubble & Seal)    แต่ ศบค. ยังไม่เคยอธิบายอย่างชัดเจนว...
นั่งในร้านได้! ร้านอาหารจะสร้างความมั่นใจว่าปลอดภัยจากโควิด-19 ได้อย่างไร
16 พฤษภาคม 2021

นั่งในร้านได้! ร้านอาหารจะสร้างความมั่นใจว่าปลอดภัยจากโควิด-19 ได้อย่างไร

ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2564 เป็นต้นมา ร้านอาหารในพื้นที่สีแดงเข้ม 6 จังหวัด ซึ่งหนึ่งในนั้นคือกรุงเทพฯ ถูกสั่งห้ามนั่งรับประทานอาหารในร้าน ต้องซื้อกลับบ้านหรือสั่งเดลิเวอรีเท่านั้น และจำกัดเวลาเปิดไม่เกินเวลา 21.00 น. เจ้าของร้านและพนักงานตั้งแต่สตรีทฟู้ด ร้านอาหารทั่วไป แฟรนไชส์ในห้างสรรพสินค้า จนถึงภัตตาคาร ต่างได้รับผลกระทบกันถ้วนหน้า  ...
ทำไมโควิด-19 ถึงแพร่กระจายทางอากาศ (Airborne)
12 พฤษภาคม 2021

ทำไมโควิด-19 ถึงแพร่กระจายทางอากาศ (Airborne)

ถ้ามีการตีพิมพ์ผลการสอบสวนโรคในคลัสเตอร์ ‘สนามมวย’ เมื่อปีก่อน ก็น่าจะเป็นหลักฐานอีกชิ้นหนึ่งที่สนับสนุนข้อสรุปล่าสุดของศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค สหรัฐฯ (CDC) ว่าโควิด-19 สามารถแพร่กระจายได้ไกลกว่า 2 เมตร หรือที่เรียกว่า ‘การแพร่กระจายทางอากาศ’ (Airborne) เพราะตำแหน่งที่นั่งของผู้ติดเชื้อในสนามมวยค่อนข้างกระจัดกระจาย   เมื่อวันที่ 7 พฤษภา...

MOST POPULAR


Close Advertising
X