×

ชนาธิป ไชยเหล็ก

percentage of COVID positives
31 สิงหาคม 2021

เปอร์เซ็นต์ผลบวกโควิดลดลง แต่ยังสูงอยู่

จากการวิเคราะห์ข้อมูลที่เผยแพร่ในเว็บไซต์กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ภาพรวมประเทศร้อยละผลบวกโควิดมีแนวโน้มลดลง แต่ยังถือว่าสูงอยู่ ล่าสุดสัปดาห์ที่ 34 (วันที่ 22-28 สิงหาคม 2564) เท่ากับ 20.4% หรือทุกๆ ผู้รับการตรวจหาเชื้อ 5 คน จะพบผู้ติดเชื้อ 1 คน ในขณะที่การตรวจหาเชื้อด้วยวิธี RT-PCR กลับลดลงด้วย เฉลี่ยทั้งสัปดาห์เหลือวันละ 53,657 ตัวอย่าง  &n...
เมื่อโควิดแพร่เชื้อทางอากาศ
30 สิงหาคม 2021

เมื่อโควิดแพร่เชื้อทางอากาศ ทำไมการระบายอากาศถึงสำคัญ และจะเพิ่มการระบายอากาศได้อย่างไร

การคลายล็อกรอบ 1 กันยายน 2564 นี้น่าจะเป็นครั้งแรกที่ ศบค. พูดถึง ‘การระบายอากาศ’ อย่างจริงจัง ทั้งการระบุไว้ในมาตรการปลอดภัยสำหรับองค์กร (COVID-FREE Setting) โดยด้านสิ่งแวดล้อมจะต้องมีระบบระบายอากาศ และทั้งการจำกัดจำนวนผู้นั่งในร้านอาหารตามลักษณะการระบายอากาศระหว่างห้องปรับอากาศ (นั่งได้ 50%) และพื้นที่เปิดที่อากาศสามารถระบายถ่ายเทได้ดี (นั่งได้ 7...
ผู้ติดเชื้อโควิดลด
27 สิงหาคม 2021

ผู้ติดเชื้อโควิดลด วางใจจนคลายล็อกดาวน์ได้จริงหรือ?

วันนี้ผู้ติดเชื้อรายใหม่ +18,702 ราย ‘สถานการณ์การระบาด’ ของโควิดในไทยดูเหมือนว่าจะดีขึ้นเมื่อยอดผู้ติดเชื้อรายใหม่ที่ ศบค. รายงานทุกเช้ามีแนวโน้มลด จากเดิมที่เคยขึ้นไปสูงที่สุด 23,000 รายเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม ลดลงมาเหลือต่ำกว่า 2 หมื่นรายเป็นเวลา 6 วันติดต่อกัน ปัจจุบันจำนวนผู้ติดเชื้อเฉลี่ย 7 วันย้อนหลังอยู่ที่ประมาณ 18,500 ราย (ถึงแม้ว่ายอดหลัก...
ภูมิคุ้มกันหมู่
24 สิงหาคม 2021

ไทยเข้าใกล้ ‘ภูมิคุ้มกันหมู่’ แล้วหรือยัง? เป้าหมายที่ยังห่างไกลความจริง

“ไทยฉีดวัคซีนเข้าใกล้ภูมิคุ้มกันหมู่ 50 ล้านคน ตามแผน” หลายคนน่าจะได้เห็นอินโฟกราฟิกสื่อสารเรื่องการฉีดวัคซีน 9 ภาพของเพจไทยรู้สู้โควิด เมื่อวานนี้แล้ว (23 สิงหาคม) แต่ถ้าใครยังไม่เห็นก็น่าเสียดายที่ทางเพจได้ลบโพสต์นี้ออกไปแล้วโดยไม่ได้ชี้แจงอะไรเพิ่มเติม ถ้าหากมองในแง่ดีอย่าง ศบค. ต้องการให้อินโฟกราฟิกนี้ทำให้เรากลับมาพูดถึงเรื่อง ‘ภูมิคุ้มกันหมู่...
ผู้ติดเชื้อโควิดสะสม
20 สิงหาคม 2021

ถอดบทเรียน 4 ความล่าช้า ในวันที่ผู้ติดเชื้อสะสมเกิน 1,000,000 ราย

วันที่ 20 สิงหาคม 2564 เป็นวันที่ประเทศไทยรายงานผู้ติดเชื้อโควิดสะสมเกิน 1 ล้านราย คิดเป็นประมาณ 1,500 รายต่อประชากร 1 แสนคน โดยผู้ติดเชื้อเกือบทั้งหมด (97%) ตรวจพบในการระบาดระลอกเมษายน 2564 หรือระลอกที่ 3-4 แต่ตัวเลขจริงอาจมากกว่านี้ เพราะ ศบค. ยังไม่ได้รวมยอดจากการตรวจด้วยชุดตรวจด้วยตนเอง ATK และบางส่วนอาจเข้าไม่ถึงการตรวจหาเชื้อ    ...
Pfizer
18 สิงหาคม 2021

ป้องกันเดลตาได้ไหม ภูมิคุ้มกันอยู่นานแค่ไหน ผลข้างเคียงเป็นอย่างไร 10 คำถามกับวัคซีน Pfizer

ผมเคยเขียนถึงวัคซีน Pfizer-BioNTech ไปแล้วรอบหนึ่งเมื่อปลายเดือนเมษายน 2564 ในบทความ ‘ประสิทธิภาพสูง แต่คนไทยยังต้องรอ รวม 10 คำถามไขข้อสงสัยเกี่ยวกับวัคซีน Pfizer’  ตอนนั้นไทยยังไม่ได้นำเข้าวัคซีนนี้ (คณะรัฐมนตรีเพิ่งอนุมัติเมื่อ 6 กรกฎาคม 2564) ตัดกลับมาที่ปัจจุบันไทยเริ่มฉีดวัคซีนนี้แล้ว แต่เป็นล็อต 1.5 ล้านโดสที่ได้รับการบริจาคมาจากสหรัฐอเ...
ฟ้าทะลายโจร
13 สิงหาคม 2021

ฟ้าทะลายโจรใช้รักษาโควิดได้หรือไม่ บทสรุปที่ยังไม่ได้ข้อสรุป

ในการระบาดของโควิดระลอกหลังนี้มีข่าวเกี่ยวกับยาฟ้าทะลายโจรมาเป็นระยะ ทั้งข่าวยา ‘ขาดตลาด’ เพราะประชาชนซื้อมารับประทานเพื่อป้องกันและรักษากันมากขึ้น ข่าวยาฟ้าทะลายโจร ‘ปลอม’ ต่อเนื่องมาจากสถานการณ์ยาขาดตลาด ข่าวกระทรวงสาธารณสุขสนับสนุนการใช้ยาเพื่อ ‘รักษา’ ผู้ป่วยที่มีอาการไม่รุนแรง โดยเฉพาะกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก รวมถึงแพทย์บางท่านที่ผ...
หายป่วยจากโควิด
11 สิงหาคม 2021

เมื่อไรถึงเรียกว่าหายป่วยจากโควิด หายป่วยแล้วต้องทำอะไรบ้าง

หมายเหตุ: ปรับปรุงเนื้อหาล่าสุดวันที่ 16 สิงหาคม 2564   ผู้ติดเชื้อโควิดส่วนใหญ่ หากตรวจพบเชื้อมาเกิน 7 วันแล้วไม่มีอาการหรือมีอาการน้อยมักจะหายได้เองโดยไม่มีภาวะแทรกซ้อน แต่เมื่อหายดีแล้วยังมีความกังวลว่าจะต้องแยกกักตัวจากคนในบ้านต่ออีกกี่วัน หรือเมื่อแพทย์อนุญาตให้กลับบ้านได้แล้วจะกลับไปทำงานได้เมื่อไร หากติดเชื้อแล้วยังต้องฉีดวัคซีนอี...
Pfizer
8 สิงหาคม 2021

ย้อนที่มาก่อนวัคซีน Pfizer จะถึงแขนบุคลากรด่านหน้า นโยบายที่ขับเคลื่อนด้วยการด่า?

เมื่อวานนี้ (6 สิงหาคม) เฟรนด์ในเฟซบุ๊กของผมหลายท่าน ไม่ว่าจะเป็นพี่พยาบาลที่โรงพยาบาลประจำอำเภอหรือที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล (สถานีอนามัย) ได้ถ่ายรูปขณะฉีดวัคซีนเข็มที่ 3 พร้อมกับถ่ายรูปขวดวัคซีนที่ได้รับการบริจาคมาจากสหรัฐอเมริกาเป็นหลักฐานยืนยัน ในที่สุดบุคลากรทางการแพทย์ด่านหน้าก็ได้ฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้นเป็นวัคซีน Pfizer-BioNTech&n...
ร้านอาหาร
6 สิงหาคม 2021

ทำไมถึงซื้อกลับบ้านไม่ได้ ศบค. ต้องวางแผนมาตรการร้านอาหารในระยะยาว

หลังจากที่ต้องปิดไป 2 สัปดาห์ ร้านอาหารหรือเครื่องดื่มในห้างสรรพสินค้าก็สามารถกลับมาเปิดได้ใหม่อีกครั้ง แต่ ศบค. อนุญาตเฉพาะการสั่งอาหารผ่านบริการขนส่งอาหาร (Food Delivery Service) เท่านั้น ส่วนการเปิดหน้าร้านเพื่อนั่งรับประทาน หรือแม้แต่การสั่งอาหารเพื่อนำกลับไปรับประทานที่บ้าน (Take Away) ยังไม่สามารถทำได้ภายใต้ข้อกำหนดตาม พ.ร.ก. ฉุกเฉิน ฉบับที่ ...

MOST POPULAR


Close Advertising
X