×

Science

การโคลนนิ่ง
28 มกราคม 2024

หรือการโคลนนิ่งมนุษย์คือก้าวต่อไป? หลังความสำเร็จ​ในการโคลนนิ่งลิง

‘เรโทร’ (Retro)​ คือชื่อของลิงวอก (Macaca mulatta) เพศผู้ ซึ่งเป็น​สัตว์ในกลุ่มวานรหรือไพรเมตสายพันธุ์ล่าสุดที่ประสบความสำเร็จ​จากการโคลนนิ่ง โดยเจ้าจ๋อเรโทร​นี้ถือกำเนิดขึ้นในจีนเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม​ 2020 จวบจนบัดนี้​ผ่านไป 3 ปีแล้วยังคงมีสุขภาพดี   การโคลนนิ่งเจ้าจ๋อเรโทรเดินตามรอยไพรเมตรุ่นพี่ต่างสายพันธุ์​ 2 ตัว นั่นคือ ‘จงจง’ (中中)...
NASA
27 มกราคม 2024

NASA ยุติภารกิจเฮลิคอปเตอร์ Ingenuity บนดาวอังคาร

NASA แถลงยุติการขึ้นบินของ Ingenuity เฮลิคอปเตอร์ขนาดเล็กบนดาวอังคาร เนื่องจากพบความเสียหายที่เกิดขึ้นกับใบพัดหลังการขึ้นบินครั้งที่ 72 เมื่อวันที่ 18 มกราคมที่ผ่านมา   เฮลิคอปเตอร์ Ingenuity เดินทางไปถึงดาวอังคารกับโรเวอร์สำรวจ Perseverance เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2021 ด้วยวัตถุประสงค์การสาธิตเทคโนโลยีเท่านั้น โดยมีแผนให้ขึ้นบินรวมทั้งสิ้น...
25 มกราคม 2024

JAXA เผยภาพยาน SLIM พบว่าลงจอดบนดวงจันทร์แบบหัวปักพื้น

องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น หรือ JAXA เผยภาพแรกของยาน SLIM บนพื้นผิวดวงจันทร์ พบว่ายานลงจอดในท่าหัวปักพื้น ผิดจากภารกิจที่ถูกวางไว้   ยาน SLIM หรือ Smart Lander for Investigating Moon เดินทางไปลงจอดบนดวงจันทร์ได้สำเร็จเมื่อคืนวันที่ 19 มกราคม กลายเป็นชาติที่ 5 ที่สามารถนำยานทำ Soft Landing หรือลงจอดอย่างนุ่มนวลบนพื้นผิวได้ อย่างไรก็ตาม ข้อม...
20 มกราคม 2024

NARIT จับภาพสุดท้ายของยาน Peregrine ก่อนสิ้นสุดภารกิจด้วยการตกกลับสู่โลก

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ หรือ NARIT เผยภาพสุดท้ายของยาน Peregrine ที่ล้มเหลวในการเดินทางไปลงจอดบนดวงจันทร์ และกลับมาเผาไหม้ในชั้นบรรยากาศโลก เมื่อเช้ามืดวันที่ 19 มกราคม ซึ่งเป็นวันเดียวกับที่ภารกิจ SLIM ของญี่ปุ่นลงจอดบนดวงจันทร์ได้สำเร็จ แต่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานที่ค่อนข้างจำกัด จากปัญหาการสร้างพลังงานผ่านแผงโซลาร์เซลล์   ยาน P...
19 มกราคม 2024

พบวัตถุปริศนาในทางช้างเผือก อาจเป็นดาวนิวตรอนที่ใหญ่ที่สุดหรือหลุมดำที่เล็กที่สุด

คณะนักดาราศาสตร์นานาชาติพบวัตถุปริศนาในทางช้างเผือก ที่อาจเป็นดาวนิวตรอนที่มีมวลมากสุดหรือเป็นหลุมดำขนาดเล็กที่สุด   การค้นพบครั้งนี้เกิดขึ้นกับวัตถุที่โคจรอยู่รอบพัลซาร์ที่มีอัตราการกะพริบในระดับมิลลิวินาที (Millisecond Pulsar) ชื่อ PSR J0514-4002E ในกระจุกดาวทรงกลม NGC 1851 ซึ่งอยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 40,000 ปีแสง   วัตถุที่ถ...
Mcraeensis
18 มกราคม 2024

พบฟอสซิลญาติใกล้ชิดของไดโนเสาร์จอมโหด ‘ทีเร็กซ์’ ที่ตัวโตพอๆ กันแต่เก่าแก่กว่า

ถ้าถามใครสักคนว่ารู้จักไดโนเสาร์พันธุ์ไหนบ้าง เชื่อว่าเจ้า ‘ทีเร็กซ์’ ผู้โด่งดังจะต้องเป็นหนึ่งในคำตอบที่ได้รับอย่างแน่นอน ล่าสุดได้มีผู้ค้นพบฟอสซิลของไดโนเสาร์กินเนื้อเดินสองเท้าสปีชีส์ใหม่ ที่น่าจะเป็นสายพันธุ์ใกล้ชิดที่สุดของทีเร็กซ์ แต่ถือกำเนิดขึ้นมาบนโลกก่อนเจ้าจอมโหด 5-7 ล้านปี   ‘ทีเร็กซ์’ (T.Rex) คือชื่อที่ย่อมาจาก ไทแรนโนซอรัส ...
16 มกราคม 2024

จีนพัฒนา​แบตเตอรี่พลังงานนิวเคลียร์ ใช้ใส่มือถือได้ 50 ปีโดยไม่ต้องชาร์จ

บริษัท เบต้าโวลท์ เทคโนโลยี (Betavolt Technology) ของจีน ประกาศความสำเร็จในการย่อส่วนแหล่งจ่ายไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ หรืออุปกรณ์เบตาโวลตาอิก หรือเราจะเรียกให้เข้าใจง่ายๆ ว่า แบตเตอรี่พลังนิวเคลียร์ ให้มีขนาดเล็กและบางลงจนเหลือขนาดเพียง 15x15x5 มิลลิเมตร   อุปกรณ์เบตาโวลตาอิก (Betavoltaic Device) ซึ่งเป็นแหล่งจ่ายไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์นี้...
กาแล็กซีมืด
16 มกราคม 2024

นักดาราศาสตร์พบกาแล็กซีมืดสนิท ไม่มีดาวฤกษ์ปรากฏอยู่ จากความผิดพลาดในการสำรวจ

นักดาราศาสตร์ได้ตรวจพบกาแล็กซีประหลาดที่ไม่มีแสงดาวฤกษ์ปรากฏอยู่ แต่อุดมไปด้วยก๊าซไฮโดรเจนปริมาณมาก จากการที่กล้องโทรทรรศน์วิทยุซึ่งมีเป้าหมายสำรวจวัตถุอื่นบนท้องฟ้าหันไปผิดตำแหน่งโดยไม่ได้ตั้งใจ   กาแล็กซี J0613+52 อยู่ห่างจากโลกไปราว 270 ล้านปีแสง ในทิศของกลุ่มดาวสารถี ซึ่งข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์วิทยุ Green Bank พบว่ามีก๊าซไฮโดรเจนมวลม...
Liquid Crystal
15 มกราคม 2024

‘Thailand Liquid Crystals in Space’ เบื้องหลังงานวิจัยไทยที่ร่วมมือ NASA ส่งขึ้นทดลองบนสถานีอวกาศฯ

งานวิจัยผลึกเหลว หรือ Liquid Crystal ของไทย ภายใต้ความร่วมมือกับองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ หรือ NASA กำลังจะออกเดินทางขึ้นไปทดลองโดยนักบินอวกาศบนสถานีอวกาศนานาชาติในปลายปีนี้   แม้ว่าชื่อ NASA อาจเป็นที่รู้จักโดยแพร่หลาย และมักถูกนำไปใช้อ้างถึงในภาคส่วนต่างๆ อยู่บ่อยครั้ง แต่สำหรับงานวิจัย ‘Thailand Liquid Crystals in Space (TLC...
14 มกราคม 2024

นักดาราศาสตร์พบสัญญาณของออโรราบนดาวแคระน้ำตาลที่โคจรโดดเดี่ยวในเอกภพ

นักดาราศาสตร์อาจพบการเกิดแสงออโรราบนดาวแคระน้ำตาล (Brown Dwarf) ที่โคจรอย่างโดดเดี่ยวในเอกภพ จากข้อมูลล่าสุดของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   บนดาวแคระน้ำตาล W1935 ที่มีขนาดและมวลใหญ่กว่าดาวพฤหัสบดี แต่ยังไม่มากพอที่จะทำให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันที่ใจกลาง นักดาราศาสตร์ได้พบการแผ่รังสีในย่านอินฟราเรดจากมีเทน เกิดขึ้นในบรรยากาศชั้...

MOST POPULAR


Close Advertising
X