×

LGBTQIA+

8 กรกฎาคม 2020

เข้าใจความต่าง ร่าง แก้ไข ป.พ.พ. มาตรา 1448 เพื่อ #สมรสเท่าเทียม และร่าง พ.ร.บ. คู่ชีวิต

หลังจากช่วงต้นสัปดาห์ที่ผ่านมา #สมรสเท่าเทียม ติดเทรนด์ทวิตเตอร์และปลุกกระแสการพูดถึงการแก้ไขกฎหมายเพื่อความเท่าเทียมสำหรับคู่รักที่มีความหลากหลายทางเพศ (LGBTQ) ในโลกโซเชียล ซึ่งเกิดจากการเสนอร่างกฎหมายโดย ส.ส. ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ และคณะฯ จากพรรคก้าวไกล ที่ได้เสนอร่าง พ.ร.บ. แก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฯ (ป.พ.พ.) จากเดิมที่ ป.พ.พ. มาตรา 1448 อ...
8 กรกฎาคม 2020

ธัญวัจน์ ก้าวไกล เผยความสำคัญ #สมรสเท่าเทียม แตกต่างกับ พ.ร.บ. คู่ชีวิตฯ ชี้เสียงประชาชนสำคัญ ต้องการความเสมอภาคทางเพศ

วันนี้ (8 กรกฎาคม) ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคก้าวไกล ให้สัมภาษณ์กับ THE STANDARD จากกรณีที่โลกออนไลน์ได้มีการติดแฮชแท็ก #สมรสเท่าเทียม หลังจากที่สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรได้เปิดรับความคิดเห็นในส่วนของร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่) พ.ศ. …. ซึ่งธัญวัจน์และคณะเป็นผู้เสนอ   ธัญว...
8 กรกฎาคม 2020

เปิดสาระสำคัญ ‘ร่าง พ.ร.บ. คู่ชีวิต’ หลัง ครม. มีมติเห็นชอบให้เสนอสภาฯ

วันนี้ (8 กรกฎาคม) ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) ได้มีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติคู่ชีวิต และร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ที่เสนอโดยกระทรวงยุติธรรม ซึ่งคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ตรวจพิจารณาร่าง พ.ร.บ. แล้ว   เหตุผลหลักคือ เพื่อให้กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศได้รับการคุ้มครองอย่างเป็นธรรม เท่าเทียม ไม่เลือกปฏิบัต...
8 กรกฎาคม 2020

BREAKING: ครม. มีมติเห็นชอบให้เสนอร่าง พ.ร.บ. คู่ชีวิต และร่าง พ.ร.บ. แก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ ให้สภา เพื่อรับรองสิทธิให้กับคู่ชีวิต

วันนี้ (8 กรกฎาคม) เกิดโชค เกษมวงศ์จิตร รองอธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ, นรีลักษณ์ แพไชยภูมิ ผู้อำนวยการกองสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ และฉัตราภรณ์ ดิษฐศรีพร นักวิชาการยุติธรรมชำนาญการ กองสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ เข้าร่วมชี้แจงร่างพระราชบัญญัติคู่ชีวิต พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่..) พ.ศ. .... (...
7 กรกฎาคม 2020

#สมรสเท่าเทียม กระแสบนโลกออนไลน์ ที่มาสู่ความหวังในการแก้กฎหมายให้สิทธิคู่ LGBTQ สมรสกันได้อย่างเท่าเทียม

ในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา เทรนด์ทวิตเตอร์ #สมรสเท่าเทียม ติดอันดับต้นๆ จนทำให้หลายคนมีคำถามมากมายว่าสมรสเท่าเทียมคืออะไร ใครเท่ากับใคร ฯลฯ   เบื้องต้นขอเล่าให้ฟังถึงกระบวนการร่างกฎหมายของไทย ส่วนใหญ่จะมีที่มาจาก  (1) ส.ส. จำนวน 20 คน เสนอกฎหมาย  (2) กรม กระทรวง เสนอกฎหมายผ่านคณะรัฐมนตรี หรือ  (3) ประชาชนเข้าชื่อเสนอก...
6 กรกฎาคม 2020

#สมรสเท่าเทียม ติดอันดับ หลังสภาฯ เปิดรับฟังความเห็น ร่าง พ.ร.บ. แก้ไขประมวลกฎหมายแพ่งฯ เปิดทางสมรสเท่าเทียมทุกเพศ

วันนี้ (6 กรกฎาคม) แฮชแท็ก #สมรสเท่าเทียม ในเทรนด์ทวิตเตอร์ไทย กลายเป็นแฮชแท็กยอดนิยม หลังสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เปิดรับความคิดเห็นในส่วนของร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่...) พ.ศ. … ซึ่ง ธัญวัจน์ กมลวงศ์วัฒน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคก้าวไกล และคณะ เป็นผู้เสนอ เพื่อแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย...
2 กรกฎาคม 2020

เดือนไพรด์ในไทย กับการสร้างความภูมิใจในภาวะโรคระบาดและโลกแห่งอคติ

กระแสของงานไพรด์ (Pride Month) เดือนแห่งการฉลองและนำเสนอประเด็นเพื่อสิทธิเพศหลากหลายทั้งในระดับชุมชนและนานาชาติ จากภาวะโรคระบาดของโควิด-19 ทำให้กิจกรรมหลายอย่างที่เคยมีต้องถูกยกเลิกและเลื่อนออกไป รวมถึงการปรับรูปแบบให้เป็นออนไลน์แบบ Virtual    แม้จะไม่ได้มีการรวมตัวกันในแบบเห็นหน้า แต่ทราบกันดีว่าการขับเคลื่อนประเด็นสิทธิมนุษยชนในกล...
30 มิถุนายน 2020

ชมคลิป: ฝันที่ไม่กล้าฝัน… การค้นหาและเติบโตของ LGBTQ ผ่าน Pop Culture

ส่งท้าย Pride Month! เพื่อเฉลิมฉลองเดือนแห่งความภาคภูมิใจของ LGBTQ (กลุ่มคนที่มีความหลากหลายทางเพศ) THE STANDARD POP ชวน LGBTQ 6 คน มาพูดคุยถึงสิ่งที่หล่อหลอมตัวตนใน Pop Culture อย่างภาพยนตร์ ละคร ซีรีส์ และการ์ตูน อิทธิพลของสื่อที่มีผลต่อการค้นหาตัวเองและการเติบโต พร้อมชวนมาฝันในสิ่งที่ไม่กล้าฝันว่า พวกเขาและเธอนั้นอยากเห็นเรื่องราวของตัวเองและชาว...
29 มิถุนายน 2020

ไต้หวันฉลอง Pride Month หลังรับมือโควิด-19 ได้ดี ครบ 1 ปี สมรสเพศเดียวกันชาติแรกในเอเชีย

วานนี้ (28 มิถุนายน) กลุ่ม LGBTQ และกลุ่มผู้สนับสนุนความหลากหลายทางเพศในไต้หวันราว 1,000 คน ร่วมฉลอง Pride Month 2020 หลังไต้หวันเป็นหนึ่งในชาติที่สามารถรับมือโควิด-19 ได้อย่างมีประสิทธิภาพตลอด 6 เดือนที่ผ่านมา ไต้หวันพบผู้ติดเชื้อสะสม 477 ราย และเหลือผู้ป่วยที่ยังคงรักษาตัวอยู่เพียง 5 รายเท่านั้น    โดยในปีนี้ถือเป็นการฉลองงานไพรด์...
19 มิถุนายน 2020

20 ปีที่ผ่านมา ‘คู่รัก LGBTQ’ ที่ไหนสมรสกันได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายแล้วบ้าง

หลังจากที่เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องสิทธิความเท่าเทียมให้กับกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ หรือกลุ่ม LGBTQ มานานกว่าครึ่งศตวรรษ คู่รัก LGBTQ ทั้งหลายในบางประเทศเพิ่งจะสามารถสมรสกันได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายในช่วง 20 ปีที่ผ่านมานี้เอง โดยเนเธอร์แลนด์ถือเป็นประเทศแรกในโลกที่อนุญาตให้คู่รัก LGBTQ สามารถสมรสกันได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายเมื่อปี 2001 ...

MOST POPULAR


Close Advertising
X