×

Environment

6 มกราคม 2023

วิจัยเผย ธารน้ำแข็งกว่าครึ่งบนโลกจะละลายหมดภายในปี 2100 แม้จะคุมอุณหภูมิได้ไม่เกิน 1.5 องศาเซลเซียส ตามความตกลงปารีส

งานวิจัยล่าสุดชี้ว่าธารน้ำแข็งครึ่งหนึ่งบนโลกของเราอาจละลายหายไปหมดภายในปี 2100 หรืออีกเพียงไม่ถึง 80 ปีข้างหน้า แม้ว่าโลกจะสามารถควบคุมไม่ให้อุณหภูมิสูงเกิน 1.5 องศาเซลเซียส จากช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรม ตามที่ให้คำมั่นไว้ในความตกลงปารีสก็ตาม ซึ่งถือเป็นข้อมูลที่น่าตกใจว่าภาวะโลกรวนมีผลกระทบหนักหนากว่าที่มนุษย์เคยคาดการณ์ไว้ โดยรายงานระบุว่า ธารน้ำแข็ง...
5 มกราคม 2023

วิจัยเผย การแปะฉลากแจ้งว่า ‘อาหารนี้มีผลทำให้โลกรวน’ ช่วยให้คนเปลี่ยนใจไปกินอาหารที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกน้อยกว่า

งานวิจัยซึ่งตีพิมพ์ลงในวารสารการแพทย์ JAMA Network Open เปิดเผยว่า การแปะฉลากบนอาหารฟาสต์ฟู้ดเพื่อแจ้งว่าอาหารชนิดดังกล่าวมีอัตราการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูง มีผลทำให้คนเปลี่ยนใจไปเลือกรับประทานอาหารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่า   ต้องเล่าย้อนกลับไปก่อนว่า อุตสาหกรรมการผลิตอาหารนั้นมียอดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกคิดเป็นสัดส่วนสูงถึง 1 ใน 3 ข...
4 มกราคม 2023

ออสเตรเลียอาจเผชิญกับเอลนีโญ ส่งผลให้ปี 2023 ร้อนและแห้งแล้งเป็นประวัติการณ์

วานนี้ (3 มกราคม) สำนักข่าวต่างประเทศรายงานว่า ออสเตรเลียอาจเผชิญหน้ากับปรากฏการณ์เอลนีโญภายในปี 2023 ซึ่งจะส่งผลให้ปีนี้เป็นปีที่สภาพอากาศยิ่งร้อนและแห้งแล้งเป็นประวัติการณ์ โดยก่อนหน้านี้ออสเตรเลียได้รับอิทธิพลจากปรากฏการณ์ลานีญา ส่งผลให้มีปริมาณน้ำฝนตกลงมามากกว่าปกติ ฤดูร้อนมีอากาศที่เย็นและมีเมฆมาก ขณะที่ฤดูหนาวก็ชื้นแฉะและมีความชื้นในอากาศสูง ...
3 มกราคม 2023

วิจัยเผย เพนกวินและสิ่งมีชีวิตถึง 65% ในแอนตาร์กติกาอาจตายหมดในสิ้นศตวรรษนี้ หากเราไม่ช่วยกันลดโลกร้อน

งานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสาร PLOS Biology เมื่อเดือนธันวาคม 2022 เปิดเผยผลการศึกษาที่น่าวิตกกังวลว่า พืชและสัตว์ถึง 65% ในแอนตาร์กติกา รวมถึงเพนกวินจักรพรรดิ อาจตายหมดภายในสิ้นศตวรรษนี้ หากมนุษย์ยังไม่ร่วมมือกันลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและลดการใช้งานเชื้อเพลิงฟอสซิลที่ทำให้เกิดภาวะโลกร้อน   นักวิทยาศาสตร์ระบุว่า อุณหภูมิโลกที่สูงขึ้นทำให้ธา...
ภัยธรรมชาติ
1 มกราคม 2023

ชมคลิป: KEY MESSAGES: 2022 ปีแห่งภัยธรรมชาติ สัญญาณเตือนว่าปัญหาสิ่งแวดล้อมรอไม่ได้อีกต่อไป

ตลอดปี 2022 รอบโลกต้องเผชิญปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มาทั้งจากน้ำมือของมนุษย์เช่น การตัดไม้ทำลายป่าแอมะซอน ปอดของโลกที่เพิ่มสูงขึ้น จนอาจเปลี่ยนป่าแอมะซอนที่เคยเขียวชอุ่มให้กลายเป็นทุ่งหญ้าสะวันนาที่แห้งแล้ง      รวมไปถึงภัยธรรมชาติครั้งใหญ่เป็นประวัติการณ์ที่เกิดขึ้นกับหลายประเทศ ไม่ว่าจะคลื่นความร้อนทะลุ 40 องศาในยุโรป น้ำท่วมเ...
28 ธันวาคม 2022

โตเกียวบังคับบ้านใหม่ที่สร้างหลังปี 2025 ต้องติดแผงโซลาร์เซลล์ มุ่งลดปล่อยคาร์บอนระยะยาว

นับตั้งแต่เดือนเมษายน 2025 เป็นต้นไป บ้านที่สร้างใหม่โดยผู้รับเหมารายใหญ่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น จะต้องติดแผงโซลาร์เซลล์ทุกหลัง เพื่อช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศโลก อันเป็นต้นตอสำคัญที่ส่งผลให้เกิดภาวะโลกรวน   เมื่อวันที่ 15 ธันวาคมที่ผ่านมา สภากรุงโตเกียวของญี่ปุ่นมีมติออกข้อกำหนดใหม่ โดยบังคับให้ผู้รั...
28 ธันวาคม 2022

10 อันดับภัยพิบัติจากโลกรวน ที่สร้างมูลค่าความเสียหายสูงสุดในปี 2022

วานนี้ (27 ธันวาคม) องค์กรการกุศล Christian Aid ได้เปิดเผยรายงานฉบับล่าสุดที่รวบรวม 10 อันดับภัยพิบัติจากภาวะโลกรวน ที่สร้างมูลค่าความเสียหายทางการเงินมากที่สุดในปี 2022 โดยแต่ละเหตุการณ์มีมูลค่าความเสียหายไม่ต่ำกว่า 3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็นเงินไทยราว 1 แสนล้านบาท    Christian Aid ระบุว่า ตัวเลขเหล่านี้เป็นการประเมินขั้นต่ำ...
สหรัฐฯ
26 ธันวาคม 2022

สหรัฐฯ มอบเงินช่วยเหลือประเทศยากจนสู้ภัยโลกรวนไม่ได้ตามสัญญา หลังหั่นงบเหลือไม่ถึง 1 พันล้านดอลลาร์ต่อปี

ประเทศกำลังพัฒนาอาจต้องรับภาระที่หนักอึ้งในการต่อสู้กับภัยพิบัติที่เกิดจากภาวะโลกรวนมากขึ้นกว่าเดิม หลังเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา สภาคองเกรสของสหรัฐอเมริกาผ่านร่างงบประมาณฉบับใหม่ ซึ่งมีการจัดสรรเงินช่วยเหลือด้านโลกรวนแก่ประเทศยากจนในสัดส่วนน้อยกว่าที่ประธานาธิบดีโจ ไบเดน เคยให้สัญญาเอาไว้อย่างมาก   ก่อนหน้านี้ไบเดนเคยให้คำมั่นว่าจะมอบเงินให...
ผู้หญิงตากแดด
21 ธันวาคม 2022

อังกฤษเตือน อุณหภูมิโลกปีหน้าอาจเป็นหนึ่งในปีที่ร้อนที่สุดที่มนุษย์ต้องเผชิญ

กรมอุตุนิยมวิทยาของอังกฤษพยากรณ์ว่า ปี 2023 อาจเป็นหนึ่งในปีที่ร้อนที่สุดเป็นประวัติการณ์ของโลก โดยอุณหภูมิโลกเฉลี่ยคาดว่าจะสูงกว่าช่วงก่อนเกิดภาวะโลกรวนที่ระหว่าง 1.08-1.32 องศาเซลเซียส   หากอุณหภูมิปี 2023 ออกมาตามการพยากรณ์ โลกของเราก็จะเผชิญกับอุณหภูมิเฉลี่ยที่สูงกว่า 1 องศาเซลเซียสจากยุคก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรมต่อเนื่องเป็นปีที่ 10 อัน...
20 ธันวาคม 2022

ที่ประชุม COP15 บรรลุข้อตกลงว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพครั้งประวัติศาสตร์ สำคัญอย่างไรต่อโลกใบนี้?

วานนี้ (19 ธันวาคม) เสียงปรบมือได้ดังกึกก้องกลางที่ประชุมสมัชชาภาคีอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ หรือ COP15 ในเมืองมอนทรีออล ประเทศแคนาดา หลังนานาชาติร่วมบรรลุข้อตกลงฉบับประวัติศาสตร์ที่มุ่งป้องกันการทำลายสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นภัยคุกคามต่อสิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศบนโลกของเรามายาวนาน   THE STANDARD ขอเรียบเรียงสิ่งที่เกิดขึ้น พร้อมสรุป...

MOST POPULAR


Close Advertising
X