×

LGBTQIA+

22 มกราคม 2019

LGBT กับคำว่าครูในสังคมไทย ผ่านมุมมอง 5 พรรคการเมืองที่อาสามาเปลี่ยนแปลงประเทศ

    โลกโซเชียลในรอบ 2-3 วันที่ผ่านมามีประเด็นร้อนแรงเกี่ยวกับกรณีการเลือกปฏิบัติเพราะเหตุแห่งเพศอีกครั้ง   เมื่อนิสิตคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ออกมาโพสต์ข้อความร้องเรียน ระบุว่าถูกอาจารย์พิเศษบังคับให้แต่งกายให้ตรงกับเพศกำเนิด รวมถึงได้พูดว่า “เป็นกะเทยก็ไม่ต่างอะไรกับคนบ้า แค่สังคมยอมรับมากกว่า การที่คณะครุศ...
18 มกราคม 2019

นิวยอร์กผ่านร่างกฎหมายปกป้องสิทธิทรานส์เจนเดอร์ พร้อมแบนการบำบัดกลุ่ม LGBTQ เด็กให้กลับใจและเลิกเบี่ยงเบน

สภารัฐนิวยอร์กผ่านร่างกฎหมายการไม่เลือกปฏิบัติด้วยเหตุอัตลักษณ์ทางเพศ (GENDA) หลังต่อสู้กันมาอย่างยาวนานกว่า 16 ปี โดยสภาเคยผ่านร่างกฎหมายการไม่เลือกปฏิบัติด้วยเหตุรสนิยมทางเพศแล้วตั้งแต่ปี 2002 แต่ยังไม่ครอบคลุมในหลากหลายประเด็น   การผ่านร่างกฎหมายฉบับใหม่นี้มีขึ้นหลังจากที่พรรคเดโมแครตกลับมาครองเสียงข้างมากอีกครั้งและผลักดันกฎหมายฉบับน...
15 มกราคม 2019

วิพากษ์ร่าง พ.ร.บ. คู่ชีวิต ที่ให้สิทธิไม่ร้อยเปอร์เซ็นต์ ผ่านครูกฎหมาย ไพโรจน์ กัมพูสิริ

หลังจากสนามการเมืองเปิด เราได้เห็นหลากเวทีสัมมนาเชิญพรรคการเมืองไปแสดงทรรศนะต่อประเด็นหลากหลายที่กลุ่มเคลื่อนไหวทางสังคมให้ความสำคัญ เช่นเดียวกับเวทีของกลุ่มรณรงค์ด้านความหลากหลายทางเพศ โดยเฉพาะเรื่องร้อนๆ อย่าง ร่าง พ.ร.บ. คู่ชีวิต ที่จะเป็นหมุดหมายเริ่มต้นในการก่อหลักประกันความเสมอภาค ความเท่าเทียมของกลุ่มหลากหลายทางเพศให้เท่ากับคู่สมรสหญิงชาย ...
15 มกราคม 2019

รัฐบาลเชชเนียในรัสเซียกวาดล้างกลุ่ม LGBTQ รอบใหม่ ตาย 2 ถูกจับอีก 40 คน

รัสเซียถือเป็นอีกหนึ่งประเทศในโลกที่มักจะมีคำเตือนสำหรับกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศที่ต้องการจะเดินทางไปเยือน เพราะอาจส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยขณะเดินทาง ล่าสุดมีรายงานว่า รัฐบาลเชชเนีย หนึ่งในรัฐทางตอนใต้สุดของรัสเซียตะวันตกที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ได้กวาดล้างกลุ่ม LGBTQ และผู้เข้าข่ายต้องสงสัยรอบใหม่เมื่อไม่นานมานี้ เป็นเหตุให้มีผู้เสี...
14 มกราคม 2019

ผลสำรวจเผย ชาวญี่ปุ่น 1 ใน 11 คนยอมรับว่าตนเองเป็น LGBTQ การรับรู้ต่อความหลากหลายทางเพศในสังคมเพิ่มมากขึ้น

ผลสำรวจความคิดเห็นของพลเมืองญี่ปุ่นต่อประเด็นความหลากหลายทางเพศในสังคม ที่จัดทำโดยบริษัทยักษ์ใหญ่ด้านโฆษณาอย่าง Dentsu Inc. พบว่า การรับรู้เกี่ยวกับความหลากหลายทางเพศในสังคมญี่ปุ่นมีเพิ่มมากขึ้นราว 1.3% เมื่อเทียบกับการสำรวจครั้งก่อนหน้าเมื่อปี 2015 ที่ผ่านมา โดย 2 ใน 3 ของผู้แสดงความคิดเห็นรู้ว่า LGBTQ คืออะไร   จากผู้ตอบแบบสอบถามออนไลน...
11 มกราคม 2019

มอลตา จากประเทศอนุรักษนิยม สู่หมุดหมายของ LGBT ที่สำคัญแห่งปี เขาเปลี่ยนแปลงกันอย่างไร?

ในภูมิทัศน์การท่องเที่ยวโลก หนึ่งประเทศที่มีความน่าสนใจและควรค่าแก่การพูดถึงที่สุดในเวลานี้คือ ประเทศ ‘มอลตา’ เกาะขนาดกะทัดรัดในทวีปยุโรปใต้บู๊ตของคนอิตาลี โดยสิ่งที่สื่อในต่างประเทศให้ความสนใจอย่างมากคือประเด็นของการผลัดเปลี่ยนแนวคิดแบบอนุรักษนิยม (conservative) ของรัฐ กลายมาเป็นประเทศหนึ่งที่ได้ชื่อว่าเป็นหมุดหมายสำคัญของกลุ่ม LGBT ภายในเวลาอันรว...
11 มกราคม 2019

แต่งงาน 26 ครั้ง! คู่รักเลสเบี้ยนญี่ปุ่นตั้งเป้าถ่ายภาพแต่งงานในทุกประเทศทั่วโลกที่อนุญาตให้คู่รักเพศเดียวกันสมรสกันได้

มิซาโตะ คาวาซากิ วัย 21 ปี และมายุ โอทากิ วัย 22 ปี คู่รักเลสเบี้ยนชาวญี่ปุ่นซึ่งเป็นนักศึกษาประจำมหาวิทยาลัยอุตสึโนะมิยะ จังหวัดโทจิงิ ทำโปรเจกต์ ‘แต่งงาน 26 ครั้ง’ โดยตั้งเป้าเดินทางไปถ่ายภาพแต่งงานในทุกประเทศทั่วโลกที่อนุญาตให้คู่รักเพศเดียวกันสามารถสมรสกันได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย หวังส่งต่อกำลังใจและความเชื่อมั่นในตัวเองให้กับผู้มีความหลากหลายท...
11 มกราคม 2019

กองทัพอินเดียยังรับไม่ได้! แม้ศาลสูงจะลดโทษและยกเลิกให้การรักร่วมเพศเป็นความผิดทางอาญา

ถึงแม้ว่าช่วงต้นเดือนกันยายนที่ผ่านมา ศาลสูงของอินเดียจะพิจารณาให้การมีเพศสัมพันธ์ระหว่างคนเพศเดียวกันไม่เป็นความผิดทางอาญาอีกต่อไป โดยระบุว่ามาตรา 377 ที่ระบุโทษทางกฎหมายเอาไว้นั้นเป็นกฎหมายที่เลือกปฏิบัติต่อความหลากหลายทางเพศในอินเดียนับตั้งแต่ช่วงที่ยังอยู่ภายใต้อาณานิคมของสหราชอาณาจักร แต่กองทัพอินเดียกลับไม่เห็นด้วยและยังจะสนับสนุนกฎหมายลักษณะ...
11 มกราคม 2019

Spectrosynthesis II นิทรรศการขับเคลื่อนพลัง LGBTQ ที่จะจัดขึ้นที่กรุงเทพฯ ปลายปีนี้

หลายคนอาจจะคุ้นเคยกับกลุ่ม LGBTQ จากในภาพยนตร์หรือซีรีส์หลายๆ เรื่อง แต่ครั้งนี้หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานครจะทำให้คุณได้เข้าใจเรื่องราวของกลุ่ม LGBTQ มากขึ้น ผ่านผลงานศิลปะบนเฟรมผ้าใบที่สะท้อนเนื้อหาความหลากหลายทางเพศและมุมมองการใช้ชีวิตของผู้คนในสังคมเอเชียจาก 50 ศิลปินที่จะทำให้คุณได้สัมผัสกับความแตกต่างของชีวิตมากขึ้น   ผลงานของ เ...
3 มกราคม 2019

เยอรมนีอนุญาตให้สามารถระบุเพศ ‘อินเตอร์เซ็กซ์’ ในเอกสารราชการได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย

รัฐบาลเยอรมนีอนุญาตให้กลุ่มเพศ ‘อินเตอร์เซ็กซ์’ ที่ไม่ใช่ทั้งเพศหญิงและเพศชาย สามารถระบุเพศที่สอดคล้องกับเพศของตนมากที่สุดลงในเอกสารราชการได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายแล้ว แทนการบังคับให้ระบุเพศระหว่างชายหรือหญิงเท่านั้น หลังรัฐสภาผ่านร่างแก้ไขกฎหมายดังกล่าวเมื่อช่วงเดือนธันวาคม 2018 และเริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มกราคม 2019 ที่ผ่านมา   แต่อ...


Close Advertising