×

James Webb Space Telescope

ดาวฤกษ์
12 กรกฎาคม 2023

พบดาวฤกษ์เกิดใหม่ 50 ดวง ในภาพถ่ายกลุ่มก๊าซ Rho Ophiuchi จากกล้องเจมส์ เว็บบ์

เย็นวันนี้ (12 กรกฎาคม) ตามเวลาประเทศไทย NASA และ ESA ได้ร่วมกันเผยแพร่ภาพถ่ายของกลุ่มก๊าซกำเนิดดาวฤกษ์ ‘โร โอฟิวคี’ (Rho Ophiuchi) ที่อยู่ห่างจากระบบสุริยะไปประมาณ 390 ปีแสง ในโอกาสฉลองครบรอบ 1 ปี การปฏิบัติภารกิจสำรวจจักรวาลของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   ในภาพถ่ายนี้ นักดาราศาสตร์ได้พบดาวฤกษ์เกิดใหม่มากกว่า 50 ดวง ที่มีมวลคล้ายดว...
หลุมดำมวลยิ่งยวด
7 กรกฎาคม 2023

กล้องเจมส์ เว็บบ์ พบหลุมดำมวลยิ่งยวดไกลจากโลกที่สุดในประวัติศาสตร์

NASA และ ESA ได้ร่วมกันเผยแพร่ข้อมูลล่าสุดจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ที่ตรวจพบหลุมดำมวลมหึมาในกาแล็กซี CEERS 1019 ซึ่งมีอยู่ตั้งแต่เอกภพยังมีอายุแค่ 570 ล้านปี หรือเราได้เห็นสภาพของมันที่เป็นอยู่เมื่อประมาณ 13,200 ล้านปีที่แล้ว   CEERS 1019 มีมวลประมาณ 9 ล้านเท่าของดวงอาทิตย์ ถือว่าค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับหลุมดำแห่งอื่นที่ถูกตรว...
1 กรกฎาคม 2023

สวัสดีวันเสาร์! กล้องเจมส์ เว็บบ์ เผยภาพดาวเสาร์และดวงจันทร์บริวารในย่านอินฟราเรด

คืนวันที่ 30 มิถุนายน NASA และ ESA ได้เปิดเผยภาพถ่ายของดาวเสาร์ในย่านอินฟราเรดใกล้จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ที่แสดงให้เห็นรายละเอียดของชั้นบรรยากาศดาว วงแหวน และดวงจันทร์บริวารบางดวง   ภาพดังกล่าวถูกถ่ายเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน ด้วยอุปกรณ์ NIRCam ที่ถ่ายภาพในย่านอินฟราเรดใกล้ ช่วงคลื่น 3.23 ไมครอน โดยภาพนี้จะเห็นวงแหวนมีความสว่าง...
เจมส์ เว็บบ์
14 เมษายน 2023

‘สัตว์ประหลาดสีเขียว’ ภาพชวนพิศวงจากกล้องเจมส์ เว็บบ์ ในห้วงอวกาศ

เมื่อราว 340 ปีที่แล้ว ช่วงที่บ้านเมืองสมัยอยุธยากำลังวุ่นวาย ปลายยุคสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เข้าสู่ต้นยุคสมเด็จพระเพทราชา บนท้องฟ้ายามค่ำคืนยามนั้นมีจุดแสงสว่างปรากฏขึ้นใหม่ใกล้กลุ่มดาวค้างคาวบนท้องฟ้าทางทิศเหนือ แสงสว่างนั้นมาจากการระเบิดของดาวฤกษ์ที่มีขนาดใหญ่กว่าดวงอาทิตย์หลายเท่า เราเรียกว่าปรากฏการณ์นั้นว่ามหานวดารา (ซูเปอร์โนวา) ซึ่งเป็นปรากฏ...
เจมส์ เว็บบ์
23 กุมภาพันธ์ 2023

เจมส์ เว็บบ์ ค้นพบกาแล็กซีเก่าแก่ขนาดใหญ่ 6 กาแล็กซี ที่อาจทำให้มนุษย์ต้องทำความเข้าใจใหม่เกี่ยวกับเอกภพในยุคแรกเริ่ม

เป็นอีกครั้งที่กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ได้ยกระดับองค์ความรู้ของมนุษย์เกี่ยวกับจักรวาลในยุคแรกเริ่ม โดยในครั้งนี้นักดาราศาสตร์ระบุว่า ข้อมูลที่ได้จากเจมส์ เว็บบ์ เผยให้เห็นวัตถุที่คาดว่าเป็นกาแล็กซีขนาดใหญ่ 6 กาแล็กซีที่มีมวลพอๆ กับกาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา โดยถือกำเนิดขึ้นประมาณ 540-770 ล้านปี หลังจากปรากฏการณ์บิ๊กแบง (เมื่อ 1.38 หมื่นล้าน...
12 มกราคม 2023

หลักฐานจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศ James Webb ช่วยยืนยัน ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะมีอยู่จริง

วานนี้ (11 มกราคม) นักวิทยาศาสตร์เผยหลักฐานล่าสุดจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศ James Webb ยืนยันว่า ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ (Exoplanet) มีอยู่จริง ถือเป็นหลักฐานชิ้นสำคัญที่ช่วยยืนยันในประเด็นนี้เป็นครั้งแรก นับเป็นความสำเร็จก้าวสำคัญอีกก้าวหนึ่งของมนุษยชาติที่ได้รับข้อมูลที่น่าสนใจจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศตัวนี้    ทีมนักวิจัยที่นำโดยนักบินอ...
James Webb Space Telescope
26 ธันวาคม 2022

เปิดมุมมองใหม่ของห้วงอวกาศกับเจมส์ เว็บบ์ ย้อนดู 10 ไฮไลต์เด่นในปี 2022 ทำผลงานน่าทึ่งใดบ้าง

สำหรับปี 2022 หนึ่งในนวัตกรรมอันน่าทึ่งที่ช่วยทลายกำแพงความรู้ของมนุษย์ พร้อมเปิดโอกาสให้บรรดานักวิทยาศาสตร์รวมถึงเราทุกคนได้ค้นพบมุมมองใหม่ๆ เกี่ยวกับห้วงจักรวาล คงต้องยกให้กับกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ (James Webb Space Telescope: JWST) ที่ปล่อยภาพดวงดาวและเอกภพมาให้ได้ชมกันแบบคมชัดจัดเต็ม สมกับค่าตัวที่สูงถึง 1 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ  ...
เจมส์ เว็บบ์
17 พฤศจิกายน 2022

เจมส์ เว็บบ์ ปล่อยภาพนาฬิกาทรายจักรวาล เผยช่วงเวลาก่อกำเนิดดาวฤกษ์

วานนี้ (16 พฤศจิกายน) กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ได้ปล่อยภาพของห้วงอวกาศที่ดูตื่นตาราวกับนาฬิกาทรายสีเพลิง โดยเป็นภาพบริเวณของ ‘ดาวฤกษ์ก่อนเกิด’ หรือ Protostar ที่มีชื่อว่า L1527 ซึ่งถ่ายด้วยอุปกรณ์ NIRCam ของกล้องโทรทรรศน์อวกาศตัวนี้   ใจกลางภาพที่ดูเหมือนกับส่วนคอขวดคือจุดก่อเกิดของดาวฤกษ์ ซึ่งอยู่บนท้องฟ้าบริเวณกลุ่มดาววัว (Tauru...
เจมส์ เว็บบ์
29 ตุลาคม 2022

เจมส์ เว็บบ์ ปล่อยภาพเสาแห่งการก่อกำเนิด เวอร์ชันชวนขนลุก รับวันฮาโลวีน

วานนี้ (28 ตุลาคม) NASA ได้ปล่อยภาพ ‘เสาแห่งการก่อกำเนิด’ เวอร์ชันใหม่จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ซึ่งมาในโทนสีส้ม-เทา ดูน่าเกรงขามราวกับเงื้อมมือของปีศาจยักษ์ เข้ากับบรรยากาศของเทศกาลฮาโลวีนที่กำลังจะมาถึงนี้   หลายคนอาจจะรู้สึกคุ้นๆ กับภาพนี้ นั่นเพราะเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม NASA เคยปล่อยภาพเวอร์ชันแรกจากเจมส์ เว็บบ์ไปแล้ว โดยในเว...
27 ตุลาคม 2022

เจมส์ เว็บบ์ ปล่อยภาพ ‘กาแล็กซีชนกัน’ ก่อกำเนิดดาวฤกษ์ใหม่เร็วกว่าทางช้างเผือก 20 เท่า

เมื่อวันอังคารที่ผ่านมา (25 ตุลาคม) กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ได้ปล่อยภาพของ IC 1623 ซึ่งเป็นสองกาแล็กซีที่กำลังชนกัน โดยอยู่ห่างจากโลกของเราออกไปราว 270 ล้านปีแสงในกลุ่มดาวซีตัส (กลุ่มดาววาฬ)   การหลอมรวมกันของดาราจักรทั้งสองนี้ ได้ก่อให้เกิดดาวฤกษ์ใหม่จำนวนมากอย่างรวดเร็ว จากปฏิกิริยาที่เรียกว่า Starburst โดยอัตราการเกิดใหม่ของดว...


Close Advertising
X
Close Advertising