×

James Webb Space Telescope

NASA ภาพจักรวาล
15 พฤศจิกายน 2023

NASA เปิดภาพหลากสีสันของจักรวาล ผลงานของกล้องฮับเบิลและเจมส์ เว็บบ์

NASA เปิดภาพถ่ายที่มีสีสันมากที่สุดรูปหนึ่งของจักรวาล แสดงให้เห็นกระจุกกาแล็กซี MACS0416 ที่อยู่ห่างจากโลกไปราว 4,300 ล้านปีแสง จากกล้องฮับเบิลและเจมส์ เว็บบ์   ภาพถ่ายดังกล่าวเผยให้เห็นกระจุกกาแล็กซี MACS0416 โดยเป็นหนึ่งในวัตถุอวกาศห้วงลึกที่กล้องฮับเบิลได้เริ่มสำรวจมาตั้งแต่ปี 2014 ซึ่งอาศัยแรงโน้มถ่วงมหาศาลของกระจุกกาแล็กซี ทำให้เกิด...
กล้อง เจมส์ เว็บบ์ พบ คริสตัล ควอตซ์ ในชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ WASP-17b
18 ตุลาคม 2023

กล้องเจมส์ เว็บบ์ พบควอตซ์ในชั้นบรรยากาศดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะเป็นครั้งแรก

นักดาราศาสตร์ตรวจพบอนุภาคของคริสตัลควอตซ์ ในชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ WASP-17b ผ่านการใช้อุปกรณ์บนกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   แม้แร่ควอตซ์อาจถูกพบได้โดยทั่วไปบนโลกเรา และดาวเคราะห์หินหรือดวงจันทร์ในระบบสุริยะ แต่นี่ถือเป็นครั้งแรกที่มีการตรวจพบอนุภาคแร่ซิลิกาบนบรรยากาศดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ โดยใช้การแยกสเปกตรัมผ่านอุป...
ดวงจันทร์ยูโรปา
23 กันยายน 2023

กล้องเจมส์ เว็บบ์ พบคาร์บอนไดออกไซด์บนพื้นผิวดวงจันทร์ยูโรปาเป็นครั้งแรก

ดวงจันทร์ยูโรปาเป็นดวงจันทร์บริวารของดาวพฤหัสที่มีมหาสมุทรขนาดใหญ่อยู่ใต้พื้นผิวเปลือกน้ำแข็งหนา และเป็นหนึ่งในเป้าหมายที่น่าสนใจสำหรับการค้นหาชีวิตในระบบสุริยะ เนื่องจากอาจมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการให้ชีวิตดำรงอยู่ได้   แต่ข้อมูลล่าสุดจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ มีการตรวจพบหลักฐานของคาร์บอนไดออกไซด์ปริมาณมากในบริเวณ Tara Regio โ...
ดาว k2-18 b
12 กันยายน 2023

กล้องเจมส์ เว็บบ์ ตรวจพบคาร์บอนไดออกไซด์และมีเทน ในชั้นบรรยากาศดาวเคราะห์เขตเอื้อต่อการดำรงอยู่ของชีวิต

คณะนักดาราศาสตร์ได้ใช้ข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ตรวจพบมีเทนและคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์ K2-18 b เป็นครั้งแรกที่มีการพบโมเลกุลทั้งสองในบรรยากาศของดาวเคราะห์เขตเอื้อต่อการอยู่อาศัยของชีวิต   คณะนักดาราศาสตร์ นำโดยศาสตราจารย์นิกกุ มาธุสุธาน จากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ พบว่าดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ K2-18 b ที่มีมว...
นักดาราศาสตร์
2 กันยายน 2023

นักดาราศาสตร์ไทยร่วมใช้กล้องเจมส์ เว็บบ์ ศึกษาคุณสมบัติกาแล็กซียุคแรกของเอกภพ

คณะนักวิจัยจากนานาประเทศ รวมถึงประเทศไทย ได้ใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ศึกษากาแล็กซี MACS1149-JD1 หรือ JD1 พบว่ามีมวลค่อนข้างน้อย และอยู่ห่างจากโลกไปราว 13,300 ล้านปีแสง หรือเทียบเท่ากับ 4% ของอายุเอกภพในปัจจุบัน   การศึกษาหากาแล็กซียุคแรกของเอกภพเป็นหนึ่งในเป้าหมายสำคัญของกล้องเจมส์ เว็บบ์ ที่สำรวจจักรวาลในช่วงรังสีอินฟราเรด โดย...
กล้องเจมส์ เว็บบ์
19 สิงหาคม 2023

กล้องเจมส์ เว็บบ์ ยืนยันการพบหนึ่งในกาแล็กซียุคแรกสุดของเอกภพ

นักดาราศาสตร์พบว่าดาราจักร CEERS2 5429 หรือกาแล็กซี Maisie ที่ถูกจับภาพได้โดยกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ เมื่อปีที่แล้ว เป็นหนึ่งในกาแล็กซีแห่งแรกสุดของเอกภพ   ข้อมูลล่าสุดจากการศึกษาข้อมูลสเปกตรัมเพิ่มเติม โดยคณะนักดาราศาสตร์จากนานาประเทศ พบว่าดาราจักรดังกล่าวอยู่ในช่วงประมาณ 13,400 ล้านปีที่แล้ว หรือราว 390 ล้านปีหลังการเกิดบิ๊กแบง...
10 สิงหาคม 2023

กล้องเจมส์ เว็บบ์ ศึกษาดาวฤกษ์ไกลจากโลกที่สุด เผยลักษณะและรายละเอียดครั้งแรก

NASA ได้ใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ศึกษา ‘Earendel’ ดาวฤกษ์ไกลที่สุดที่เคยตรวจพบ พร้อมเผยให้เห็นว่าเป็นดาวฤกษ์แบบ B-type ที่ร้อนและสว่างกว่าดวงอาทิตย์ รวมทั้งพบความเป็นไปได้ที่อาจมีดาวฤกษ์คู่หูอีกดวง   Earendel ที่แปลว่าดาวรุ่งอรุณ หรือ WHL0137-LS ถูกค้นพบในปี 2022 ด้วยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ทำลายสถิติเป็นดาวฤกษ์ยุคแรกสุด และ...
เนบิวลาวงแหวน
7 สิงหาคม 2023

นักดาราศาสตร์เปิดภาพเนบิวลาวงแหวน วาระสุดท้ายของดาวฤกษ์ สุดคมชัดจากกล้องเจมส์ เว็บบ์

“เรากำลังเป็นสักขีพยานในช่วงชีวิตบทสุดท้ายของดาวฤกษ์ และดวงอาทิตย์เราก็จะพบกับชะตากรรมเช่นนี้ในอนาคตอันไกลโพ้น” เป็นคำอธิบายของศาสตราจารย์ไมค์ บาร์โลว์ ผู้นำทีมนักดาราศาสตร์นานาชาติ ที่ใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ บันทึกภาพเนบิวลาวงแหวนในย่านอินฟราเรดแบบคมชัด   เนบิวลาวงแหวน หรือวัตถุ Messier 57 ตั้งอยู่ห่างจากโลกประมาณ 2,500 ปีแสง...
Herbig-Haro 46-47
31 กรกฎาคม 2023

เจมส์ เว็บบ์ ถ่ายติดวัตถุคล้าย ‘เครื่องหมายคำถาม’ อยู่ในภาพดาวฤกษ์กำลังก่อตัว

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ บันทึกภาพพื้นที่ดาวฤกษ์กำลังก่อตัว Herbig-Haro 46/47 สุดคมชัดได้เป็นครั้งแรก แต่ถูกแย่งซีนด้วย ‘เครื่องหมายคำถาม’ ในจักรวาลที่ปรากฏอยู่เบื้องล่างของวัตถุดังกล่าว   Herbig-Haro 46/47 เป็นดาวฤกษ์อายุน้อยที่ถูกห้อมล้อมด้วยก๊าซและจานมวลวัตถุที่คอยเพิ่มมวลให้กับดาวฤกษ์อายุน้อยในช่วงของการก่อตัว ที่อยู่ห่างจากโล...
เจมส์ เว็บบ์
25 กรกฎาคม 2023

กล้องเจมส์ เว็บบ์ พบไอน้ำในบริเวณที่มีดาวเคราะห์คล้ายโลกกำลังกำเนิด

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ได้พบหลักฐานของไอน้ำในจานฝุ่นก๊าซรวมมวล หรือ Protoplanetary Disk ชั้นในของระบบดาว PDS 70 เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่มีการพบหลักฐานของน้ำนอกระบบสุริยะในบริเวณที่อาจมีการก่อตัวของดาวเคราะห์หินคล้ายโลกขึ้น   PDS 70 เป็นดาวฤกษ์แบบดาวแคระส้ม (เย็นกว่าดวงอาทิตย์) อยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 370 ปีแสง และมีดาวเคราะ...


Close Advertising