×

โรคติดต่อ

ธนกร วังบุญคงชน
24 พฤษภาคม 2022

โฆษกรัฐบาลเผย นายกฯ ห่วงสุขภาพประชาชนช่วงหน้าฝน ให้ สธ. เฝ้าระวัง ‘ฝีดาษลิง’ อย่างรัดกุม

วันนี้ (24 พฤษภาคม) ธนกร วังบุญคงชนะ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ห่วงใยสุขภาพประชาชน ขอให้ประชาชน โดยเฉพาะเด็ก ผู้สูงอายุดูแลสุขภาพ เนื่องจากประเทศไทยเริ่มเข้าสู่ช่วงฤดูฝน ซึ่งมักจะมีการแพร่ระบาดของโรคที่มีปัจจัยเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ เช่น ไข้หวัดใหญ่ ไข้เลื...
ไข้หวัดนก
1 พฤษภาคม 2022

สหรัฐฯ พบคนติดเชื้อไข้หวัดนก H5 รายแรกของประเทศ มีอาการเพียงอ่อนเพลีย ยืนยันความเสี่ยงในคนยังต่ำ

ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคสหรัฐอเมริกา (CDC) เปิดเผยเมื่อวันที่ 28 เมษายนที่ผ่านมาตามเวลาท้องถิ่นว่า สหรัฐฯ พบผู้ติดเชื้อไข้หวัดนก H5 รายแรกของประเทศที่รัฐโคโลราโด โดยบุคคลผู้นี้มีผลตรวจพบไวรัสไข้หวัดนก A (H5) เป็นบวก และเกี่ยวข้องในการคัดแยกสัตว์ปีกที่สันนิษฐานว่าเป็นไข้หวัดนก H5N1   อย่างไรก็ตาม CDC ยืนยันว่ากรณีนี้ไม่ได้เปลี่ยนแปลงผลการ...
endemic disease
31 มกราคม 2022

โรคประจำถิ่นคืออะไร และประเภทของโรคติดต่อตามกฎหมาย

ตลอด 2 ปีที่ผ่านมา หลายคน น่าจะได้ยินคำศัพท์เกี่ยวกับโรคระบาดของผู้เชี่ยวชาญหลายท่าน เช่น องค์การอนามัยโลกประกาศให้โควิด-19 เป็น ‘การระบาดใหญ่’ เมื่อเดือนมีนาคม 2563 กระทรวงสาธารณสุขประกาศใช้แนวคิด ‘โรคประจำถิ่น’ ในการควบคุมโควิด-19 พ.ศ. 2565 และคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติได้กำหนดหลักเกณฑ์โรคประจำถิ่นสำหรับโควิด-19 เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2565  ...
โรคลัมปี สกิน
11 มิถุนายน 2021

โรคลัมปี สกิน ระบาดหนักใน สปป.ลาว โค-กระบือ ติดเชื้อกว่าหมื่นตัว

วานนี้ (10 มิถุนายน) กระทรวงเกษตรและป่าไม้ของลาวรายงานว่า โคและกระบือจาก 126 หมู่บ้าน ใน 7 จังหวัดของ สปป.ลาว ติดเชื้อโรคลัมปี สกิน (Lumpy Skin Disease) มากกว่า 11,000 ตัว โดยมีโคและกระบือตายจากโรคนี้แล้วมากกว่า 100 ตัว และได้รับการรักษามากกว่า 8,000 ตัว   จังหวัดคำม่วน ซึ่งอยู่ห่างจากนครหลวงเวียงจันทน์ของ สปป.ลาว ไปทางตะวันออกเฉียงใต้รา...
เปิดสาระสำคัญแก้ไข พ.ร.บ. โรคติดต่อ ผู้ที่สงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตรายต้องแจ้งเจ้าพนักงาน ฝ่าฝืนมีโทษ
23 ธันวาคม 2020

เปิดสาระสำคัญแก้ไข พ.ร.บ. โรคติดต่อ ผู้ที่สงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตรายต้องแจ้งเจ้าพนักงาน ฝ่าฝืนมีโทษ

วานนี้ (22 ธันวาคม) ไตรศุลี ไตรสรณกุล รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กล่าวว่าคณะรัฐมนตรีอนุมัติหลักการร่างพระราชบัญญัติโรคติดต่อ ซึ่งเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 เกี่ยวกับการดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ เพื่อให้มาตรการทางกฎหมายมีความเหมาะสมในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และโรคติดต่ออื่นที...
ลดเวลากักตัวโควิด-19 จาก 14 วัน เหลือ 10 วัน
29 ตุลาคม 2020

อนุทินประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อฯ เตรียมเสนอ ศบค. ลดเวลากักตัวโควิด-19 จาก 14 วัน เหลือ 10 วัน

วันนี้ (29 ตุลาคม) ที่กระทรวงสาธารณสุข จังหวัดนนทบุรี อนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ให้สัมภาษณ์ภายหลังการประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ ครั้งที่ 8/2563 ว่า    สถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ในประเทศไทย อยู่ในจุดที่ควบคุมได้ และมีความพร้อมจัดการปัญหาที่อาจเกิดขึ้น เพราะได้สำรองยา เวชภัณฑ์ มีประสบ...
15 กันยายน 2020

สธ. และ AFRIMS ร่วมวิจัยโรคเขตร้อน ผลิตวัคซีนป้องกันเอชไอวี-ไข้เลือดออก ถอดรหัสสารพันธุกรรมโควิด-19 ในไทย

วันนี้ (15 กันยายน) อนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข พร้อมด้วย ไมเคิล จอร์จ ดีซอมบรี เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทยและบุคคลที่เกี่ยวข้อง เข้าเยี่ยมชมสถาบันวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร US Army Medical Directorate of the Armed Forces Research Institute of Medical Sciences (USAMD-AFRIMS) เพื่อเน้นย้ำความสัมพันธ์แล...
17 สิงหาคม 2020

‘ให้มันจบที่ปีนี้’ รู้จัก ‘ชิคุนกุนยา’ โรคระบาดที่วนกลับมาทุกสิบปี และวิธีป้องกัน

ในระหว่างที่เรา ‘ตั้งการ์ด’ สู้กับโควิด-19 ไม่ว่าจะเป็นการสวมหน้ากากอนามัย การเว้นระยะห่าง และการล้างมือ แม้โรคติดเชื้อที่ติดต่อผ่านละอองสารคัดหลั่งเหมือนกัน เช่น ไข้หวัดใหญ่ มีแนวโน้มลดลงอย่างชัดเจน แต่ทว่าโรคที่ติดต่อผ่านช่องทางอื่น เช่น ไข้เลือดออก ชิคุนกุนยาหรือไข้ปวดข้อยุงลาย กลับตรงกันข้าม คือมีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทุกสัปดาห์   เมื...
25 พฤษภาคม 2020

โลกาภิวัตน์ และประวัติศาสตร์การระบาดของเชื้อโรคข้ามดินแดน

เมื่อพูดถึงโลกยุคโลกาภิวัตน์ในความรู้สึกและการรับรู้ของคนส่วนใหญ่ เรามักมีความเข้าใจต่อปรากฏการณ์ดังกล่าวนี้ไปในทิศทางที่ดี ไม่ว่าจะมองว่าโลกาภิวัตน์ทำให้โลกที่กว้างใหญ่นี้แคบลง ทำให้โลกเชื่อมเข้าหากัน ทำให้มนุษย์เข้าใกล้กัน มีปฏิสัมพันธ์กัน ไปมาหาสู่กันมากขึ้นผ่านการคมนาคมและการสื่อสารที่สะดวก รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ หรือยิ่งกว่านั้นก็มองว่าโลกาภิ...
31 มีนาคม 2020

ทำไมอัตราการเสียชีวิตจากโควิด-19 ในเยอรมนีจึงต่ำกว่าหลายประเทศ

หากนับอันดับโลกของประเทศที่มีจำนวนผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)​ สูงสุดในตอนนี้ เยอรมนีอยู่ในอันดับ 5 ของโลก ด้วยจำนวนผู้ติดเชื้อสะสมล่าสุด (31 มีนาคม) สูงกว่า 67,000 คน   แต่สิ่งที่น่าสนใจคือ อัตราการเสียชีวิตในเยอรมนีที่ถือว่าค่อนข้างต่ำกว่าหลายประเทศ โดยตัวเลขผู้เสียชีวิต ณ วันที่ 31 มีนาคม มีจำนวนเพียง 650 คน หรือคิดเป็นประม...


Close Advertising