×

โบราณคดี

16 สิงหาคม 2024

การฟื้นฟูอดีตของเอเชียแบบทำน้อยแต่ได้มาก

แม้การบูรณะซากปรักหักพังขนานใหญ่อาจทำให้โบราณสถานดูสวยงามยิ่งขึ้น แต่ก็อาจทำลายอัตลักษณ์ทางประวัติศาสตร์ที่แท้จริงให้สูญหายไปได้ ภาพที่เห็นนี้คือเจดีย์ในเมืองพุกาม ประเทศเมียนมา ซึ่งได้สร้างขึ้นมาใหม่หลังเหตุการณ์แผ่นดินไหวเมื่อ พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) (ภาพ: วราภรณ์ สุวัฒนโชติกุล)   เป็นเวลานานนับสิบๆ ปีแล้วที่การบูรณะแหล่งโบราณคดีในภูมิภา...
19 มีนาคม 2024

ชาวบ้านอำเภอสีชมพูเป็นห่วง! แหล่งโบราณคดีถูกทำลายจากการทำเหมืองหิน

ภูเขาลูกหนึ่งในเขตบ้านซำขาม ตำบลดงลาน อำเภอสีชมพู จังหวัดขอนแก่น กำลังจะถูกระเบิดเพื่อทำเหมืองหิน ชาวบ้านในพื้นที่เป็นกังวล เนื่องจากภูเขาลูกดังกล่าวและข้างเคียงเต็มไปด้วยแหล่งโบราณคดีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ โดยเฉพาะบางแห่งพบภาพเขียนสีที่แสดงฉากพิธีกรรมขอฝนแห่งเดียวในไทย    จากการสำรวจเบื้องต้นโดยกลุ่มรักษ์ดงลาน&พันธมิตร และกรมศิล...
เมืองโบราณศรีเทพ
19 กันยายน 2023

6 เหตุผลที่ ‘เมืองโบราณศรีเทพ’ ได้มรดกโลก (ตอนที่ 2)

ในเวลานี้คงไม่มีใครไม่รู้จักเมืองโบราณศรีเทพที่จังหวัดเพชรบูรณ์ มีเหตุผลหลายประการที่ศรีเทพสมควรได้เป็นมรดกโลก ซึ่งคณะกรรมการที่ร่างข้อเสนอไปนั้นได้ให้เห็นผล 3 ประการหลัก และเป็นที่ยอมรับจากยูเนสโก แต่ในที่นี้ผมขอเสนอความเห็นของผมเพิ่มเติมเข้าไป เพื่อชี้ให้เห็นความสำคัญที่น่าสนใจ ดังนี้   ข้อที่ 1 เมืองศรีเทพมีการเลือกตั้งถิ่นฐานอย่างชาญ...
เมืองโบราณศรีเทพ
16 กันยายน 2023

ศรีเทพ เขาศักดิ์สิทธิ์ ด็อกเตอร์สเตรนจ์ และมณฑลจักรวาล (ตอนที่ 1)

พื้นที่แห่งใดที่ได้เป็นมรดกโลกมักส่งผลให้เศรษฐกิจในพื้นที่นั้นๆ ดีขึ้นอย่างชัดเจน เพราะทำให้คนรู้จักกันทั่วโลก ข้อสรุปนี้มาจากงานวิจัยหลายชิ้น เชื่อว่าเมืองโบราณศรีเทพ มรดกโลกแห่งใหม่ของประเทศไทยคงจะมีส่วนกระตุ้นให้เกิดการท่องเที่ยวมากขึ้น    ในขณะเดียวกัน ประวัติศาสตร์โบราณคดีสมัยทวารวดี-ก่อนทวารวดี รวมถึงเขมร จะมีผู้คนค้นคว้าศึกษา...
ครูกายแก้ว
15 สิงหาคม 2023

ครูกายแก้ว วิกฤตการเมืองและสังคมไทย

ทุกครั้งที่สังคมไทยเผชิญกับวิกฤตทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ มักจะปรากฏการบูชาภูตผีปีศาจหรือเทพเจ้าที่ทรงอิทธิฤทธิ์แทบจะทุกครั้ง    ‘ครูกายแก้ว’ เป็นใครมาจากไหนไม่มีใครทราบ    ตามประวัติเชิงตำนานเล่ากันว่า มีพระธุดงค์จากลำปางไปนั่งสมาธิที่ปราสาทนครวัด นครธม กัมพูชา และได้ครูกายแก้วมา ซึ่งเชื่อว่าเป็นครูของศาสตร์และศ...
เมืองพระนคร กัมพูชา
11 เมษายน 2023

ความแห้งแล้ง หนึ่งปัจจัยที่ทำให้เมืองพระนครของกัมพูชาล่มสลาย

ไม่ใช่มีเพียงสงครามที่เป็นปัจจัยทำให้อาณาจักรใดอาณาจักรหนึ่งล่มสลาย แต่ภัยธรรมชาติก็เป็นปัญหาหนึ่งที่สำคัญยิ่ง ในช่วง 2-3 ปีมานี้กระแสของการศึกษาโบราณคดีเริ่มให้ความสำคัญกับประเด็นปัญหาร่วมสมัยกันมากขึ้น โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) เนื่องจากความร้อนของโลกที่เพิ่มสูงขึ้น ทำให้แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมต่างๆ อยู่ในภาวะเสี่ยง ไม่ว่า...
อียิปต์
31 กรกฎาคม 2022

อียิปต์พบซาก ‘สิ่งปลูกสร้างอิฐโคลน’ อายุ 4,500 ปี คาดเป็น 1 ใน 4 วิหารสุริยเทพ

วานนี้ (30 กรกฎาคม) คณะนักโบราณคดีอิตาลี-โปแลนด์ค้นพบซากสิ่งปลูกสร้างอิฐโคลนที่เชื่อกันว่าเป็นหนึ่งในวิหารสุริยเทพ (Sun Temples) ที่สาบสูญ ซึ่งมีอายุย้อนไปถึงสมัยราชวงศ์ที่ 5 ของอียิปต์โบราณ (2,465-2,323 ปีก่อนคริสต์ศักราช)   โดยกระทรวงการท่องเที่ยวและโบราณวัตถุอียิปต์แถลงว่า สิ่งปลูกสร้างดังกล่าวถูกพบอยู่ใต้วิหารสุริยเทพของฟาโรห์นูเซอร์...
หลุมศพโบราณ
24 กรกฎาคม 2022

เหอเป่ยเผย พบ ‘หลุมศพโบราณ’ 463 หลุม วัตถุทางวัฒนธรรมกว่า 2,400 รายการ ในภารกิจขุดค้นล่าสุด

วานนี้ (23 กรกฎาคม) สถาบันวัตถุทางวัฒนธรรมและโบราณคดีของมณฑลเหอเป่ยทางตอนเหนือของจีน เปิดเผยการขุดพบหลุมศพโบราณมากถึง 463 หลุม ระหว่างภารกิจขุดค้นทางโบราณคดีอย่างครอบคลุมในเหอเป่ย ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อเดือนมกราคมปี 2021   สถาบันฯ ระบุว่าการขุดค้นรอบใหม่นี้เริ่มต้นขึ้นเมื่อเดือนมกราคม 2021 ที่สุสานโฮ่วไป่เจียเป่ย (Houbaijiabei Cemetery) ในเม...
ราชโองการยุคราชวงศ์หมิง
24 กรกฎาคม 2022

หูเป่ย์พบ ‘ราชโองการ’ ยุคราชวงศ์หมิง จารึกอักษรสวยงาม

วานนี้ (23 กรกฎาคม) สำนักการคุ้มครองและการจัดการวัตถุทางวัฒนธรรมเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์ทางตอนเหนือของจีน ค้นพบราชโองการโบราณจากยุคราชวงศ์หมิง (ปี 1368-1644)   ราชโองการดังกล่าวกว้าง 0.3 เมตร ยาวรวม 1.85 เมตร และมีตัวอักษรจารึกอยู่ 455 ตัว   หวังเหว่ย ผู้อำนวยการสำนักฯ กล่าวว่า ราชโองการดังกล่าวถูกเขียนอย่างสวยงาม มีคุณค่าทางศ...
ธนาคารพันธุกรรมเซรามิกโบราณ
12 มิถุนายน 2022

จีนเตรียมสร้าง ‘ธนาคารพันธุกรรม’ เซรามิกโบราณ มีข้อมูลจากเศษเซรามิกเกือบ 20 ล้านชิ้น

วานนี้ (11 มิถุนายน) จีนเตรียมจัดตั้ง ‘ธนาคารพันธุกรรม’ ของเซรามิกโบราณในมณฑลเจียงซีทางตะวันออกของประเทศ ซึ่งอ้างอิงข้อมูลจากเศษเซรามิกที่เก็บสะสมมานานราว 40 ปี จำนวนเกือบ 20 ล้านชิ้น   เวิงเยี่ยนจวิน ประธานสถาบันเตาเผาหลวงจิ่งเต๋อเจิ้น ณ เมืองจิ่งเต๋อเจิ้น ซึ่งมีชื่อเสียงระดับโลกด้วยฐานะ ‘เมืองหลวงเครื่องเคลือบ’ ระบุว่า เศษเซรามิกโบราณเ...


Close Advertising