×

สิทธิมนุษยชน

28 พฤษภาคม 2018

ความขัดข้องของพุทธศาสนาในไทย: จากพุทธศาสนาแห่งรัฐสู่พุทธศาสนาที่เป็นอิสระจากรัฐ​

จากพุทธศาสนาแห่งรัฐสู่พุทธศาสนาที่เป็นอิสระจากรัฐ​ โดย สุรพศ ทวีศักดิ์ เป็นงานวิจัยที่กล่าวถึงประวัติศาสตร์ของพุทธศาสนาในไทยที่สัมพันธ์กันกับบริบทของสังคมการเมืองในแต่ละยุคสมัย นับแต่แรกเริ่มที่พุทธศาสนาเข้ามาในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 300 จวบจนปัจจุบัน อีกทั้งยังได้มีการตั้งคำถามต่อสถานะของพุทธศาสนากับรัฐว่าควรมีที่ทางอย่างไร   จากหนังสือสาม...
19 พฤษภาคม 2018

รำลึก 8 ปี 99 ชีวิต สลายชุมนุม นปช. 2553 คดีที่ยิ่งเดินหน้าไปยิ่งไกลเท่าเดิม

วันนี้ (19 พ.ค.) ที่วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร นางพะเยาว์ อัคฮาด แม่ของนางสาวกมนเกด อัคฮาด หรือน้องเกด และนายพันธ์ศักดิ์ ศรีเทพ พ่อของนายสมาพันธ์ ศรีเทพ หรือน้องเฌอ พร้อมด้วยญาติผู้สูญเสีย ได้ทำบุญถวายสังฆทานอุทิศส่วนกุศลให้กลุ่มผู้เสียชีวิตจากการสลายการชุมนุมเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2553 ครบรอบ 8 ปี โดยมี นายอานนท์ นำภา ทนายนักสิทธิมนุษยชน นายสุนัย ผาส...
11 พฤษภาคม 2018

แด่การจากไปของ เดวิด กู๊ดดอล ชายวัย 104 ปี ผู้เลือก ‘วาระสุดท้ายของชีวิตด้วยตัวเอง’

ในปัจจุบันแนวคิดเกี่ยวกับ “การเลือกเวลาตายให้กับตัวเอง ถือเป็น ‘สิทธิ’ อย่างหนึ่งของมนุษย์ทุกคน” กำลังเป็นกระแสถกเถียงในวงกว้าง โดยเฉพาะในวงการแพทย์ที่การเยียวยาและการรักษาชีวิตของผู้ป่วยถือเป็นหนึ่งในหัวใจสำคัญของวิชาชีพ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสิ่งผิดกฎหมายในเกือบทุกประเทศทั่วโลก   กรณีของคุณตาเดวิด กู๊ดดอล นักวิทยาศาสตร์ลูกครึ่งอังกฤษ-ออสเตรเ...
5 พฤษภาคม 2018

กลุ่มคนอยากเลือกตั้งจี้ คสช. ลาออก เตรียมยกระดับชุมนุมใหญ่หลัง 22 พ.ค.

แกนนำกลุ่มคนอยากเลือกตั้ง อาทิ นายสิรวิชญ์ เสรีธิวัฒน์ (จ่านิว), นายรังสิมันต์ โรม, นางสาวณัฏฐา มหัทธนา, นายกาณฑ์ พงษ์ประภาพันธ์, นายอานนท์ นำภา และนายเนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล เปิดเวทีจัดกิจกรรม ‘หยุดระบอบ คสช. หยุดยื้อเลือกตั้ง’ เพื่อแสดงออกให้รัฐบาลจัดการเลือกตั้งโดยเร็ว     แถลงจุดยืนครั้งที่ 6 ของการชุมนุม ย้ำจุดยืนเดิมคือต้...
2 พฤษภาคม 2018

ภาพบรรยากาศในค่ายผู้ลี้ภัยชาวโรฮีนจา ณ วันนี้ ที่ประเทศบังกลาเทศ

ทีมงาน THE STANDARD ได้ลงพื้นที่สำรวจสถานการณ์ผู้ลี้ภัยชาวโรฮีนจา ชนชาติที่เรียกได้ว่ามีชีวิตที่ทุกข์ยากลำบากและถูกประหัตประหารที่สุดในโลก ณ เวลานี้ในค่าย Balukhali หนึ่งใน 12 ค่ายผู้ลี้ภัยที่ตั้งอยู่ในเมือง Cox’s Bazar ประเทศบังกลาเทศ     ข้อมูลล่าสุดจากมูลนิธิทรัพยากรเอเชีย (Asian Resource Foundation) ซึ่งเป็นองค์กรพัฒนาเอกชน...
30 เมษายน 2018

ชาวสเปนกว่า 30,000 คน ประท้วงศาลตัดสินไม่ยุติธรรม คดีกลุ่มชายฉกรรจ์รุมข่มขืนหญิงสาว

นับตั้งแต่ช่วงสุดสัปดาห์ที่ผ่านมา ชาวสเปนมากกว่า 30,000 คน ออกมารวมตัวกันเดินประท้วงคำตัดสินของศาลท้องถิ่นเมืองปัมโปลนา หลังพิพากษาคดีข่มขืนกระทำชำเราหญิงสาวอายุ 18 ปี ช่วงเทศกาลซานเฟอร์มิน (วิ่งหนีวัวกระทิง) เมื่อปี 2016 ที่ผ่านมา อย่างไม่ยุติธรรม   กลุ่มชายฉกรรจ์ทั้ง 5 คน ที่เรียกตัวเองว่า แก๊งฝูงหมาป่า (La Manada) ถูกจับกุมและดำเนินค...
23 เมษายน 2018

ทนายจูน ผู้หญิงกล้าหาญสากล ปี 2018 กับความรู้สึกที่ ‘ยังไม่หมดหวัง’ ในระบบยุติธรรมไทย

ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา นับตั้งแต่มีการจัดตั้งศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนขึ้น ภายหลังการรัฐประหารเมื่อปี 2557 ชื่อของ ศิริกาญจน์ เจริญศิริ หรือ ทนายจูน เป็นที่รู้จักเพิ่มมากขึ้น เธอเป็นหนึ่งในสมาชิกกลุ่มทนายความที่ให้ความช่วยเหลือทางด้านกฎหมายแก่นักกิจกรรมและประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากการรัฐประหาร ถูกละเมิด ถูกข่มขู่คุกคาม และถูกดำเนินคดีทางอา...
19 เมษายน 2018

‘เกณฑ์ทหารแล้วใครจะดูแลยาย’ โฆษกกลาโหมยืนยัน ดูแลทุกคนตามความจำเป็นเท่าเทียมกัน

แม้จะผ่านฤดูกาลเกณฑ์ทหาร 2561 ไปแล้วตั้งแต่วันที่ 12 เมษายนที่ผ่านมา แต่การตรวจเลือกทหารกองประจำการปีนี้ก็ยังมีเรื่องให้สังคมวิพากษ์วิจารณ์กันอย่างต่อเนื่อง เมื่อปรากฏคลิปวิดีโอทหารเกณฑ์รายหนึ่งที่จับได้ใบแดง พร้อมร่ำไห้คร่ำครวญว่า ‘ยายผมจะอยู่อย่างไร’ จนกลายเป็นประเด็นร้อนในโลกออนไลน์   จากกรณีดังกล่าว พันเอก วินธัย สุวารี โฆษกกองทัพบก ...
12 เมษายน 2018

แอมเนสตี้เผย 142 ประเทศทั่วโลกไม่ประหารชีวิตแล้ว แต่ไทยยังคงใช้

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล เปิดรายงานสถานการณ์โทษประหารชีวิตและการประหารชีวิต ปี 2560 พบว่าการประหารชีวิตส่วนใหญ่ในโลกเกิดขึ้นในประเทศจีน อิหร่าน ซาอุดีอาระเบีย อิรัก และปากีสถาน ตามลำดับ ในอาเซียนมีสิงคโปร์ มาเลเซีย และเวียดนาม ที่มีการประหารชีวิตประชาชน ส่วนไทยยังคงเป็นหนึ่งใน 56 ประเทศที่ยังใช้โทษประหารชีวิตอยู่ ในขณะที่อีก 142 ประเทศทั่วโลกยกเ...


Close Advertising