×

สังคมไทย

5 สิงหาคม 2024

“สังคมไทยไม่ปกติ” จากการยุบพรรคถึงมาตรา 112 ในมุมมอง อานันท์ ปันยารชุน

“สังคมไทยไม่ปกติมาหลายสิบปีแล้ว” อานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 18 ในวัย 92 ปี ให้ทัศนะถึง ‘โจทย์ใหญ่ของประเทศไทย’ ท่ามกลางบรรยากาศผกผันทางการเมืองของเดือนสิงหาคม 2567   ตั้งแต่ 2 คดีสำคัญในศาลรัฐธรรมนูญที่อาจทำให้มีพรรคการเมืองถูกยุบ มีนายกฯ ที่อาจหลุดจากตำแหน่ง ตลอดจนการหวนกลับมามีบทบาทสำคัญของอดีตนายกฯ ที่กำลังจะพ้นโทษในไม่นา...
NASA
31 พฤษภาคม 2024

ภาพถ่าย NASA บอกอะไรเรา เมื่อสังคมไทยตั้งคำถาม สะท้อนปัญหาเหลื่อมล้ำ พัฒนากระจุกตัว

ภาพบางภาพอาจสื่อได้หลายความหมาย หรือบางครั้งอาจสะท้อนหลายสิ่งหลายอย่างที่น่าสนใจ อย่างเช่นภาพถ่ายประเทศไทยยามค่ำคืนที่ แมทธิว โดมินิก นักบินอวกาศ NASA ถ่ายจากสถานีอวกาศนานาชาติ (ISS) สิ่งที่หลายคนโฟกัสและตั้งคำถามคือ ปัญหาความเหลื่อมล้ำและการพัฒนาที่กระจุกตัวอยู่แต่ในเมือง ซึ่งเป็นปัญหาที่พูดกันในสังคมไทยมาช้านาน   เราจึงชวน รศ.ดร.นิรมล ...
10 กุมภาพันธ์ 2023

หน้ากากกับสังคมโควิด: ความปกติใหม่ของสังคมไทย จริงหรือไม่

เมื่อช่วงต้นเดือนพฤศจิกายน 2565 ผู้เขียนได้มีโอกาสเดินทางไปเจออาจารย์ชาวต่างชาติท่านหนึ่งที่เพิ่งจะมารับตำแหน่งใหม่ที่มหาวิทยาลัย โดยเรานัดกันที่ลานหน้าอาคารหนึ่ง ผู้เขียนเพิ่งเดินออกมาจากการประชุมหนึ่งจึงมีหน้ากากอยู่บนใบหน้า (ตามธรรมเนียมการใช้พื้นที่ในที่ร่ม) อย่างไรก็ตาม ในระหว่างที่เดินไปหาอาจารย์ท่านนั้น ก็เกิดความคิดว่าจะถอดหน้ากากออก เพราะเ...
28 พฤศจิกายน 2022

ชมคลิป: สังคมต้องเหมือนเลโก้ ต่างกันแต่ต่อรวมกันได้ ไม่ใช่เหมือนเกมเศรษฐี | THE STANDARD

ภาพฝันสูงสุดของ ไอติม-พริษฐ์ วัชรสินธุ Policy Campaign Manager พรรคก้าวไกล คือการเห็นสังคมที่เปรียบได้กับการนำชิ้นส่วนที่หลากหลายของสังคมมาประกอบร่างร่วมกันเหมือนกับ ‘การต่อเลโก้’ ไม่เหมือนกับปัจจุบันที่เปรียบได้กับ ‘เกมเศรษฐี’ ที่โชคชะตาขึ้นอยู่กับ ‘ลูกเต๋าเสี่ยงโชค’ ที่ถูกทอยออกไปอย่างไร้จุดหมาย     THE STANDARD ECONOMIC FO...
เด็กสถานพินิจ คนไร้บ้าน และชาวสลัมคลองเตย
25 ตุลาคม 2022

อ่านมนุษย์: เด็กสถานพินิจ คนไร้บ้าน และชาวสลัมคลองเตย ที่มักถูกตีตราจากภาพลักษณ์ก่อนรู้จักเสมอ

สังคมในปัจจุบันมีความหลากหลายมากขึ้น และความหลากหลายเหล่านั้นมีส่วนที่นำมาซึ่งความแตกแยก ผู้คนเริ่มแบ่งฝักแบ่งฝ่ายอย่างชัดเจน และเริ่มมีการตีตรากันโดยไม่รู้ตัว ใครที่มีความเห็นอื่นต้องเป็นฝ่ายตรงข้าม คิดต่างคือผิด จนทำให้ผู้คนเริ่มไม่มีพื้นที่จะพูดคุยกันมากขึ้น    THE STANDARD ชวนพูดคุยกับ 3 หนังสือ 3 ประเภทบุคคล คือ คนสลัมคลองเตย ค...
ลัทธิพระบิดา
12 พฤษภาคม 2022

มองปรากฏการณ์ ‘ลัทธิพระบิดา’ สะท้อนปัญหาสังคมไทยผ่านสายตานักวิชาการศาสนา

จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วง 2-3 วันที่ผ่านมา จะเห็นได้ว่าสำนักข่าวทั้งทีวีและออนไลน์ รวมถึงผู้คนในโซเซียลมีเดียจำนวนมาก ต่างกล่าวถึงเหตุการณ์สำคัญกรณีที่หมอปลานำทีมเจ้าหน้าที่เข้าบุกค้นสำนักและบุกจับฤาษีท่านหนึ่งที่เรียกตนเองว่าเป็น ‘พระบิดาของศาสนาทุกศาสนา’ เพราะได้รับการร้องเรียนมาว่าลัทธินี้มีลักษณะพฤติกรรมความเชื่อแปลกๆ    แต่...
non-textbook history
31 ธันวาคม 2021

‘ประวัติศาสตร์นอกตำรา’ กับของชำรุดในประวัติศาสตร์ไทย ชวนคุยกับ อดิศักดิ์ ศรีสม

ประวัติศาสตร์ในกระแสหลักเดินทางมาถึงจุดหักเหอีกครั้ง เมื่อถูกท้าทายด้วยสื่อสมัยใหม่ไม่ว่าจะเป็น Facebook, YouTube ซึ่งทุกคนสามารถผลิตและเผยแพร่ความรู้ทางประวัติศาสตร์ได้อย่างอิสระ ทำให้สังคมมีทางเลือกต่อการรับรู้อดีตอีกชุดหนึ่ง ส่งผลทำให้อำนาจของการผูกขาดอดีตโดยรัฐไม่อาจยึดกุมสำนึกและความคิดของประชาชนได้ง่ายๆ อีกต่อไป      ...
Sex Worker
25 ธันวาคม 2021

ถอด 6 มุมมองต่อ ‘Sex Worker’ เมื่อเป็นอาชีพหนึ่ง ไม่ใช่ปัญหาศีลธรรมและกฎหมาย แต่สังคมมองชั่วร้าย กดทับ ตีตรา

วานนี้ (24 ธันวาคม) มูลนิธิเพื่อนพนักงานบริการจัดกิจกรรมเสวนาออนไลน์ ‘หยุดทำร้าย ตีตรา พนักงานบริการ’ เนื่องในวันสากลยุติความรุนแรงต่อพนักงานบริการ 17 ธันวาคม (International Day to End Violence Against Sex Workers) โดยมีการถ่ายทอดสดผ่านแฟนเพจ Swing Thailand   ผู้เข้าร่วมการเสวนาออนไลน์ประกอบด้วย   - ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ อาจาร...
The Cider House Rules
24 พฤศจิกายน 2021

สถาบันทางเศรษฐกิจกับบริบทจริงของไทย: บทเรียนจาก The Cider House Rules

ทุกท่านเคยชมภาพยนตร์เรื่อง The Cider House Rules กันไหมครับ?   The Cider House Rules เล่าเรื่องราวของ โฮเมอร์ ที่เติบโตขึ้นในสถานเลี้ยงเด็กกำพร้า St.Cloud ตั้งอยู่ในมลรัฐเมน สหรัฐอเมริกา เขาได้รับการอุปการะเป็นบุตรบุญธรรมของหมอลาร์ช ผู้อำนวยการและสูตินรีแพทย์ประจำสถานเลี้ยงเด็กกำพร้าแห่งนี้ นอกจากการทำคลอดแล้ว หมอลาร์ชยังช่วยยุติการตั้...
ลุงพล คดี น้องชมพู่
2 มิถุนายน 2021

1 ปีของ ‘ลุงพลฟีเวอร์’ สังคมไทยได้อะไรกลับมา

เป็นเวลากว่าหนึ่งปีมาแล้ว นับตั้งแต่วันที่ 11 พฤษภาคม 2563 น้องชมพู่ เด็กหญิงวัย 3 ขวบได้หายตัวไปอย่างปริศนาพร้อมกับทิ้งความลับแห่งหมู่บ้านกกกอก อำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร ไว้ให้สังคมไทยร่วมกันแก้ไข    ในวันนั้นไม่มีใครคาดคิดว่าการทวงคืนความยุติธรรมให้กับเด็กหญิงตัวน้อยนี้จะกลายเป็นหนึ่งในบาดแผลครั้งใหญ่ของสังคมไทย เมื่อแสงไฟแห่งคว...


Close Advertising
X