×

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

18 กุมภาพันธ์ 2019

ชวนชม ‘ซูเปอร์ฟูลมูน’ ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกสุดในรอบปี คืนวันมาฆบูชานี้ ประชาชนเห็นได้ด้วยตาเปล่าทางทิศตะวันออก

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เชิญชวนประชาชนร่วมชมปรากฏการณ์ ‘ซูเปอร์ฟูลมูน’ (Super Full Moon) หรือดวงจันทร์เต็มดวงในระยะใกล้โลกที่สุดในรอบปีในคืนวันมาฆบูชา 19 กุมภาพันธ์นี้ โดยสามารถส่องด้วยกล้องโทรทรรศน์เพื่อให้เห็นเต็มตา ณ หอดูดาว 4 แห่งทั่วประเทศ   สดร. ระบุว่าในคืนวันเพ็ญ 19 กุมภาพันธ์นี้ ดวงจัน...
14 ธันวาคม 2018

คืนนี้! อย่าลืมรอดูฝนดาวตกเจมินิดส์ คาดตกสูงสุด 120 ดวงต่อชั่วโมง

คืนนี้หากมีโอกาส อย่าลืมแหงนหน้ามองท้องฟ้า เพราะจะเกิดปรากฏการณ์ฝนดาวตกเจมินิดส์ หรือฝนดาวตกกลุ่มดาวคนคู่ ที่เกิดขึ้นในช่วงวันที่ 4-17 ธันวาคมของทุกปี โดยปีนี้จะสามารถสังเกตฝนดาวตกได้ชัดเจนตั้งแต่เวลาหลังเที่ยงคืนของวันที่ 14 ไปจนถึงรุ่งเช้าของวันที่ 15 ธันวาคม   สำหรับในปีนี้ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติคาดการณ์ว่า ฝนดาวตกเจมินิดส์จะมี...
31 กรกฎาคม 2018

จับตาวันนี้! ดาวอังคารใหญ่ สว่าง และใกล้โลกที่สุดในรอบ 15 ปี

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เผยภาพชุดดาวอังคารมีขนาดปรากฏใหญ่ขึ้นและสว่างมากขึ้น พายุฝุ่นเริ่มเบาบางลง มองเห็นขั้วน้ำแข็งและพื้นผิวได้ชัดเจน ชวนจับตา 31 กรกฎาคมนี้ ใกล้โลกที่สุดในรอบ 15 ปี ดร. ศรัณย์  โปษยะจินดา ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ เผยว่า สดร. เริ่มบันทึกภาพดาวอัง...
28 กรกฎาคม 2018

ปรากฏการณ์จันทรุปราคาเต็มดวงจากทั่วทุกมุมโลก

ค่ำคืนของศุกร์ที่ 27 กรกฎาคมที่ผ่านมา ได้เกิดปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์อย่างจันทรุปราคาเต็มดวง หรือดวงจันทร์สีเลือด (Blood Moon) ทำให้เราสามารถมองเห็นดวงจันทร์กลมโตได้เด่นชัดเป็นสีแดงครั้งที่ 2 ในรอบปี ทั้งยังมองเห็นได้นานอีกด้วย และนี่คือปรากฏการณ์ความสวยงามทางธรรมชาติจากทั่วทุกมุมโลกที่ THE STANDARD ประมวลภาพมาให้คุณได้ชมกัน   รูปปั้นเทพเ...
19 กรกฎาคม 2018

27-28 ก.ค. เตรียมชมจันทรุปราคาเต็มดวงนานที่สุดในศตวรรษที่ 21 ดวงจันทร์ไกลโลกที่สุดในรอบปี ดาวอังคารตรงข้ามดวงอาทิตย์

ตลอดคืนวันที่ 27 ถึงรุ่งเช้าวันที่ 28 ก.ค.นี้ จะมีปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่น่าสนใจเกิดขึ้นพร้อมกันถึง 3 ปรากฏการณ์ เริ่มจากดาวอังคารอยู่ตรงข้ามดวงอาทิตย์ ก่อนจะโคจรเข้าใกล้โลกที่สุดในรอบ 15 ปี ทำให้สว่างมากและมีขนาดใหญ่กว่าปกติ คืนเดียวกันยังเกิดจันทรุปราคาเต็มดวงครั้งที่ 2 ในรอบปี คราสเต็มดวงกินเวลา 1 ชั่วโมง 43 นาที นานที่สุดในศตวรรษที่ 21 อีกทั...
16 กรกฎาคม 2018

นักดาราศาสตร์ค้นพบอนุภาคนิวทริโนพลังงานสูงเป็นครั้งแรก สู่ยุคใหม่การสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ฟิสิกส์

นิวทริโนเป็นอนุภาคที่มีอันตรกิริยาที่อ่อนมากกับอนุภาคชนิดอื่น มีคุณสมบัติทะลุทะลวงผ่านสสารต่าง ๆ รวมถึงร่างกายของเรา จึงตรวจจับได้ยากมาก กระทั่งนักฟิสิกส์ดาราศาสตร์สามารถสร้างเครื่องตรวจจับนิวทริโนและค้นพบว่า นิวทริโนมีมวล อีกทั้งยังเปลี่ยนชนิดได้ จนนำไปสู่การคว้ารางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี 2558   สำหรับวิธีการตรวจวัดนิวทริโนพลังงานสูง ต้...
3 พฤษภาคม 2018

9 พ.ค. นี้ จับตา ดาวพฤหัสฯ ใกล้โลกที่สุดในรอบปี มองได้ด้วยตาเปล่าทั่วประเทศ

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สดร. เปิดเผยว่า ในวันที่ 9 พฤษภาคมนี้ ดาวพฤหัสบดีจะโคจรมาอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ ซึ่งถือเป็นตำแหน่งที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุดในรอบปี     โดยในช่วงรุ่งเช้าวันที่ 9 พฤษภาคม ดาวพฤหัสบดีจะปรากฏบนท้องฟ้ายาวนานตั้งแต่ดวงอาทิตย์ตกดินจนถึงรุ่งเช้า สว่างสุกใส สังเกตเห็นได้ด้วยต...
21 มีนาคม 2018

Shooting Star คนเก็บดาว

เก็บดาวบนดอยอินทนนท์กับ ‘วิรติ กีรติกานต์ชัย’ นักถ่ายภาพดาราศาสตร์ระดับประเทศ ที่เริ่มต้นจากความรักความชอบวัตถุบนท้องฟ้าในวัยเด็ก เขาถ่ายภาพดวงดาวและปรากฏการณ์ต่างๆ จนนับว่าเป็นผู้เชี่ยวชาญ และยังถ่ายทอดวิธีถ่ายดวงดาวให้คนอื่นๆ ที่หลงรักสิ่งเดียวกันกับเขาในชมรมคนรักในดวงดาวอีกด้วย...
20 มีนาคม 2018

ชมวัดรับวันวสันตวิษุวัต

นักท่องเที่ยวเข้าชมวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร ในวันนี้ 20 มีนาคม 2561 ซึ่งสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ เผยว่าดวงอาทิตย์ตั้งฉากกับเส้นศูนย์สูตร ขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตกพอดี ทำให้ช่วงเวลากลางวันเท่ากับกลางคืน ภาษาสันสกฤตเรียกว่า ‘วันวสันตวิษุวัต’ แปลเป็นภาษาไทยว่า ‘ราตรีเสมอภาค’     ถือเป็นวันเปลี่ยนฤดูกาล ประเ...


Close Advertising