×

ระบบสุริยะ

ดาวหางฮัลเลย์
9 ธันวาคม 2023

ดาวหางฮัลเลย์เดินทางถึงจุดไกลดวงอาทิตย์ที่สุด ก่อนเริ่มการเดินทางกลับเข้าสู่ระบบสุริยะชั้นในอีกครั้ง

ช่วงเวลาประมาณ 08.00 น. ของวันที่ 9 ธันวาคม ตามเวลาประเทศไทย ดาวหางฮัลเลย์ได้เดินทางไปถึงจุดไกลสุดของวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ ก่อนเริ่มต้นการเดินทางนานกว่า 37 ปี เพื่อมุ่งหน้ากลับเข้ามาสู่ระบบสุริยะชั้นในอีกครั้ง   ดาวหางฮัลเลย์เป็นดาวหางที่มีคาบการโคจร 1 รอบ ประมาณ 75 ปี และเป็นดาวหางคาบการโคจรสั้น หรือน้อยกว่า 200 ปีเพียงดวงเดียวในปัจจุบัน ...
Enceladus
16 มิถุนายน 2023

พบโมเลกุล​ ‘ฟอสเฟต’ กุญแจ​สำคัญ​สู่การก่อกำเนิด​ชีวิต ผสมอยู่​ในน้ำที่พ่นออกมาจากดวงจันทร์ของดาวเสาร์​

แฟรงก์ โพสต์เบิร์ก ศาสตราจารย์ด้านวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์ จาก Freie Universität แห่งเบอร์ลิน และทีมงาน พบหลักฐานแสดงถึงการมีอยู่จริงของ ‘ฟอสเฟต’ หนึ่งในสารประกอบสำคัญของสิ่งมีชีวิต จากน้ำที่พวยพุ่งออกมาทางขั้วใต้ของ ‘เอนเซลาดัส’ ดวงจันทร์น้ำแข็งที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 6 ของดาวเสาร์ การค้นพบนี้ถือเป็นครั้งแรกในวงการอวกาศที่ยืนยันว่า มีฟอสฟอรัสอยู่ในมห...
onthisday18021930
18 กุมภาพันธ์ 2023

18 กุมภาพันธ์ 1930 – ค้นพบดาวพลูโต อดีตดาวเคราะห์ดวงที่ 9 ในระบบสุริยจักรวาล

ไคลด์ ทอมบอกจ์ (Clyde W. Tombaugh) นักดาราศาสตร์แห่งหอดูดาวโลเวล รัฐแอริโซนา ค้นพบดาวพลูโต ซึ่งเป็นดาวเคราะห์ดวงที่ 9 ในระบบสุริยจักรวาล และประกาศใช้ชื่อดาวเคราะห์ดวงดังกล่าวว่า ‘พลูโต’ เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 1930 ซึ่งมาจากการเสนอของเด็กสาวชาวออกซ์ฟอร์ด ชื่อ เวเนเทีย เบอร์เนย์ พลูโตเป็นชื่อเทพแห่งใต้พิภพของโรมันผู้ล่องหนได้ โดยดาวพลูโตใช้เวลาโคจรหมุ...
3 กุมภาพันธ์ 2023

นักดาราศาสตร์พบดวงจันทร์บริวารของดาวพฤหัสบดีเพิ่มอีก 12 ดวง ขึ้นแท่นดาวเคราะห์ที่มีดวงจันทร์เยอะสุดในระบบสุริยะ

ศูนย์ดาวเคราะห์น้อย (Minor Planet Center หรือ MPC) เปิดเผยว่า นักดาราศาสตร์ได้ค้นพบดวงจันทร์บริวารของดาวพฤหัสบดี (Jupiter) เพิ่มขึ้นอีก 12 ดวง ทำให้ขณะนี้ดาวพฤหัสบดีมีดวงจันทร์บริวารทั้งสิ้น 92 ดวงแล้ว จากเดิมที่โลกเคยรู้ว่ามีแค่ 80 ดวงเท่านั้น ทำสถิติใหม่แซงหน้าแชมป์เก่าอย่างดาวเสาร์ที่มีดวงจันทร์บริวาร 83 ดวง    โดยดวงจันทร์บริวาร...
เจมส์ เว็บบ์
2 กันยายน 2022

เจมส์ เว็บบ์ เผยภาพถ่ายทางตรงของดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะเป็นครั้งแรก

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ได้ถ่ายภาพดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ (Exoplanet) เป็นครั้งแรก โดยเป็นภาพดาวแก๊สขนาดยักษ์ HIP 65426 b ซึ่งมีมวลมากกว่าดาวพฤหัสบดี 6-12 เท่า และยังเป็นดาวที่มีอายุน้อยเพียง 15-20 ล้านปีเท่านั้น เทียบกับโลกของเราที่อยู่มากว่า 4.5 พันล้านปีแล้ว โดยดาวดวงนี้อยู่ห่างจากโลกออกไปถึง 385 ล้านปีแสงเลยทีเดียว   ดาวเคราะ...
สิ่งมีชีวิตนอกโลก
12 กันยายน 2019

นักดาราศาสตร์พบน้ำบนดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะเป็นครั้งแรก คาดอาจนำไปสู่การค้นพบสิ่งมีชีวิตนอกโลก

เมื่อวานนี้ (11 ก.ย.) ทีมนักดาราศาสตร์จาก University College London (UCL) ของสหราชอาณาจักร เผยข้อมูลการค้นพบครั้งสำคัญในวารสาร Nature Astronomy ระบุว่าดาว K2-18b ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะมีน้ำเป็นองค์ประกอบสำคัญของชั้นบรรยากาศ นับเป็นการค้นพบน้ำบนดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะที่โคจรอยู่ในระยะที่ไม่ห่างจากดาวฤกษ์มากจนเกินไป และยังคงเอื้อต่อการดำรงอยู่ของสิ่...

Close Advertising