×

ยานอวกาศ

16 ธันวาคม 2023

วิศวกร NASA กำลังแก้ปัญหากับคอมพิวเตอร์ยาน Voyager 1 ที่สุดขอบระบบสุริยะ

ยานอวกาศที่เดินทางไปไกลจากโลกที่สุดในประวัติศาสตร์ กำลังเผชิญปัญหากับหนึ่งในระบบคอมพิวเตอร์บนยาน ที่ทีมวิศวกรต้องหาทางแก้ปัญหาจากระยะห่างไม่น้อยกว่า 24,000 ล้านกิโลเมตร   NASA รายงานผ่านเว็บไซต์ว่า ยาน Voyager 1 ยังสามารถรับข้อมูลจากบนโลก และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ตามปกติ แต่มีการพบปัญหากับข้อมูลที่ยานอายุมากกว่า 47 ปีส่งกลับมาโลก ...
FLEXABON
26 พฤศจิกายน 2023

ic! berlin เปิดตัวคอลเล็กชันใหม่ครั้งแรกในโลกที่ไทย โดยนำวัสดุไฮเทคที่ใช้ในอุตสาหกรรมรถสปอร์ตและอวกาศมาทำแว่นตาราคา 40,000 บาท

การที่ประเทศไทยสามารถทำยอดขายได้สูงสุดเป็นอันดับ 1 ของเอเชีย-แปซิฟิก ทำให้ ic! berlin แบรนด์แว่นหรูที่ก่อตั้งในกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ตัดสินใจจัดการฉลองครบรอบ 25 ปีในประเทศไทย   งานดังกล่าวยังเป็นการพบปะของเหล่าแบรนด์แอมบาสเดอร์ที่เป็นโลคัลของประเทศไทยด้วย มีทั้งหมด 4 คน คือ เจ-เจตริน วรรธนะสิน, แอฟ-ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ ซึ่งเป็นแบรน...
17 พฤศจิกายน 2023

NASA ยุติการสื่อสารกับยานบนดาวอังคาร 2 สัปดาห์ เนื่องจากอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามกับดวงอาทิตย์

ระหว่างวันที่ 11-25 พฤศจิกายนนี้ ยานสำรวจทั้งในวงโคจรและบนพื้นผิวดาวอังคาร จะหยุดการติดต่อสื่อสารกับทีมภารกิจบนโลกของเรา จากปรากฏการณ์ ‘Mars Solar Conjunction’ ที่ดาวอังคารจะอยู่อีกฟากหนึ่งของระบบสุริยะเมื่อสังเกตจากโลก   NASA ออกมายืนยันว่าพวกเขาได้หยุดส่งคำสั่งไปยังยานอวกาศทั้งหมดบนดาวอังคารในช่วงนี้ ซึ่งเป็นเหตุการณ์ปกติที่เกิดขึ้นทุก...
นักบินอวกาศที่ไปกับยาน Shenzhou-17
26 ตุลาคม 2023

จีนส่งทีมนักบินอวกาศเสินโจว-17 ลุยภารกิจท้าทายบนสถานีอวกาศจีน

องค์การอวกาศแห่งประเทศจีน (CMSA) รายงานการปล่อยยานอวกาศที่มีมนุษย์ควบคุม ‘เสินโจว-17’ (Shenzhou-17) พร้อมทีมนักบินอวกาศ 3 คน ทะยานขึ้นสู่ห้วงอวกาศในวันนี้ (26 ตุลาคม) เพื่อปฏิบัติภารกิจบนสถานีอวกาศจีนในวงโคจรประมาณ 6 เดือน   รายงานระบุว่า ยานอวกาศเสินโจว-17 ซึ่งติดตั้งอยู่ด้านบนสุดของจรวดขนส่งลองมาร์ช-2เอฟ (Long March-2F) ทะยานออกจากศูนย...
voyager
24 ตุลาคม 2023

NASA ปรับแผนยืดอายุยาน Voyager ให้ทำงานต่อได้จากช่องว่างระหว่างดาวฤกษ์

ทีมภารกิจ Voyager 1 และ 2 ของ NASA กำลังเตรียมดำเนินขั้นตอนเพื่อช่วยยืดอายุยานอวกาศทั้งสอง ให้สามารถปฏิบัติภารกิจในอวกาศลึกได้อีกหลายปี   ภารกิจของทั้งสองออกเดินทางจากโลกในปี 1977 เพื่อสำรวจบรรดาดาวเคราะห์ชั้นนอกของระบบสุริยะ โดย Voyager 1 เข้าสู่พื้นที่ระหว่างดาวฤกษ์ในปี 2012 ก่อนที่ยาน Voyager 2 ซึ่งมุ่งหน้าออกไปในทิศทางที่ต่างกันจะหลุ...
16 ตุลาคม 2023

NASA ส่งยาน Psyche สำรวจดาวเคราะห์น้อยโลหะเป็นครั้งแรก

NASA ส่งยาน Psyche ออกเดินทางนาน 6 ปี เพื่อมุ่งหน้าไปสำรวจดาวเคราะห์น้อยชื่อเดียวกัน ด้วยความหวังเพื่อทำความเข้าใจดาวเคราะห์น้อยแบบโลหะ และอาจรวมถึงการก่อกำเนิดของดาวเคราะห์ ในภารกิจสำรวจครั้งแรกในประวัติศาสตร์   เมื่อเวลา 21.19 น. ของคืนวันที่ 13 ตุลาคม จรวด Falcon Heavy ได้นำยาน Psyche ทะยานขึ้นจากฐานปล่อย 39A ที่ศูนย์อวกาศเคนเนดีของ N...
23 สิงหาคม 2023

จันทรายาน-3 เตรียมลงดวงจันทร์ ทุ่มครึ่งของวันนี้

วันนี้ (23 สิงหาคม) เวลา 19.34 น. ภารกิจจันทรายาน-3 (Chandrayaan-3) ของประเทศอินเดีย มีกำหนดลงจอดบริเวณใกล้เคียงขั้วใต้ดวงจันทร์ โดยหากประสบความสำเร็จ พวกเขาจะเป็นประเทศที่ 4 ที่สามารถนำยานไปลงจอดและปฏิบัติภารกิจบนดวงจันทร์ได้   หลังจากข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นกับภารกิจจันทรายาน-2 ในส่วนของยานลงจอดเมื่อปี 2019 เช่นเดียวกับภารกิจจากประเทศอื่น...
NASA
5 สิงหาคม 2023

NASA ยืนยัน ยาน Voyager 2 กลับมาติดต่อกับโลกได้สำเร็จ

วันที่ 4 สิงหาคม NASA ได้รับสัญญาณและข้อมูลจากยาน Voyager 2 ที่อยู่ห่าง 19,900 ล้านกิโลเมตรจากโลก หลังเกิดปัญหาจานรับส่งสัญญาณหันเบี่ยงโลกไป 2 องศา เมื่อปลายเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา   ภารกิจอายุ 45 ปี ที่กำลังเดินทางอยู่ในช่องว่างระหว่างดาวฤกษ์ เช่นเดียวกับยานฝาแฝดอย่าง Voyager 1 ขาดการติดต่อกับโลกไปตั้งแต่วันที่ 21 กรกฎาคม หลังจากการส่งคำส...
30 กรกฎาคม 2023

ยาน Voyager 2 ของ NASA ขาดการติดต่อกับโลกชั่วคราว

NASA รายงานว่า ภารกิจ Voyager 2 ที่อยู่ห่างจากโลกไปราว 20,000 ล้านกิโลเมตร จะไม่สามารถติดต่อหรือรับส่งข้อมูลจากโลกได้จนถึงเดือนตุลาคมเป็นอย่างเร็ว เนื่องจากจานรับสัญญาณถูกหันเบี่ยงผิดไป 2 องศาจากโลก   ภารกิจระดับตำนานของ NASA ที่ยังปฏิบัติการได้แม้มีอายุมากกว่า 45 ปี ประสบปัญหาเล็กน้อยในระหว่างการรับคำสั่งจากโลกครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 21 ...
Chandrayaan-3
14 กรกฎาคม 2023

ยาน ‘จันทรายาน-3’ ของอินเดียทะยานสู่ดวงจันทร์ ตั้งเป้าเป็นมหาอำนาจการสำรวจอวกาศ

‘จันทรายาน-3’ (Chandrayaan-3) ยานอวกาศของฝั่งอินเดียที่ใช้งบประมาณในการก่อสร้างสูงเฉียด 75 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือกว่า 2.5 พันล้านบาทไทย ได้พุ่งทะยานขึ้นสู่ห้วงอวกาศจากฐานปล่อยจรวดในรัฐอานธรประเทศ ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของอินเดียแล้วในวันนี้ (14 กรกฎาคม) เมื่อเวลา 14.35 น. ตามเวลาท้องถิ่น หรือเวลา 16.05 น. ตามเวลาประเทศไทย   หนังสือพิมพ์ The Gu...


Close Advertising
X