×

พันธุกรรม

การวิ่ง
29 กันยายน 2023

การวิ่งทำให้ขาใหญ่หรือไม่?

การวิ่งทำให้ขาเล็กลงหรือใหญ่ขึ้นกันแน่?   การออกกำลังกายเพื่อคุมน้ำหนักหรือเพื่อหุ่นที่ดีนั้น ที่นิยมมากที่สุดก็คือการวิ่ง ซึ่งเป็นการออกกำลังกายแบบคาร์ดิโอ (แอโรบิก) ที่เผาผลาญได้ดีและทำได้ง่ายที่สุดวิธีหนึ่ง แต่กลับพบว่ามีสาวๆ หลายคนเป็นกังวลเกี่ยวกับการวิ่งว่ามันทำให้ขาเล็กลงหรือใหญ่ขึ้นกันแน่ ทำให้ไม่กล้าวิ่งออกกำลังกายเลย บทความนี้จ...
ธนาคารพันธุกรรมเซรามิกโบราณ
12 มิถุนายน 2022

จีนเตรียมสร้าง ‘ธนาคารพันธุกรรม’ เซรามิกโบราณ มีข้อมูลจากเศษเซรามิกเกือบ 20 ล้านชิ้น

วานนี้ (11 มิถุนายน) จีนเตรียมจัดตั้ง ‘ธนาคารพันธุกรรม’ ของเซรามิกโบราณในมณฑลเจียงซีทางตะวันออกของประเทศ ซึ่งอ้างอิงข้อมูลจากเศษเซรามิกที่เก็บสะสมมานานราว 40 ปี จำนวนเกือบ 20 ล้านชิ้น   เวิงเยี่ยนจวิน ประธานสถาบันเตาเผาหลวงจิ่งเต๋อเจิ้น ณ เมืองจิ่งเต๋อเจิ้น ซึ่งมีชื่อเสียงระดับโลกด้วยฐานะ ‘เมืองหลวงเครื่องเคลือบ’ ระบุว่า เศษเซรามิกโบราณเ...
วิทยาศาสตร์ของความหน้าตาดี
26 พฤศจิกายน 2019

วิทยาศาสตร์ของความหน้าตาดี: ความสวย หล่อมีจริงไหม หรือเป็นแค่ ‘เปลือกนอก’ ที่คิดกันไปเอง

คุณเคยสงสัยไหมว่า ทำไมคนบางคนถึง ‘หน้าตาดี’ กว่าคนอื่น   ที่จริงแล้ว การที่ใครจะหน้าตาเป็นอย่างไรนั้นไม่น่าสงสัยเท่าไร เพราะหลักๆ เป็น ‘ความบังเอิญทางพันธุกรรม’ ทั้งนั้น ที่กำหนดให้ผิวออกมาละเอียด ตากลมโต ผมเส้นเล็กสลวย หรือจมูกโด่งคมเป็นสัน สีของนัยน์ตากระจ่างสวย ฯลฯ   แต่ความหน้าตาดีไม่ได้ขึ้นอยู่กับลักษณะทางกายภาพของตัวเราเ...
เด็กหลอดแก้ว
25 กรกฎาคม 2019

25 กรกฎาคม 1978 – กำเนิดเด็กหลอดแก้วคนแรกของโลก

การปฏิสนธิภายนอกร่างกาย หรือการทำเด็กหลอดแก้ว เรียกเป็นภาษาอังกฤษสั้นๆ ว่า IVF (In-vitro Fertilization) เป็นการนำไข่และอสุจิมาผสมกันให้เกิดการปฏิสนธิภายนอกร่างกายในห้องปฏิบัติการ จากนั้นจึงจะนำไข่ที่ได้รับการผสมแล้ว (ตัวอ่อน) ย้ายกลับเข้าไปในมดลูกของฝ่ายหญิงเพื่อให้เกิดการตั้งครรภ์ต่อไป ปัจจุบันเป็นวิธีทางการแพทย์ที่ใช้สำหรับผู้ที่ต้องการจะมีบุตร แ...
On this day Genome
14 เมษายน 2019

14 April 2003 – โครงการศึกษาจีโนมของมนุษย์เสร็จสิ้น

จีโนมมนุษย์ (Genome) ถูกค้นพบเมื่อราว 50 ปีก่อน ณ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ และได้พบว่ามีคุณประโยชน์อย่างมาก จึงได้มีการวิจัยศึกษามาเรื่อยๆ   ก่อนจะเกิด โครงการจีโนมมนุษย์ ในปี ค.ศ. 1999 เป็นการศึกษาการเรียงตัวของ รหัสพันธุกรรม (Genetic Code) ทั้งหมดบนสายดีเอ็นเอ ในโครโมโซมต่างๆ ทั้งหมดของเซลล์ ซึ่งเป็นโครงการที่เกิดขึ้นจากความร...
27 พฤศจิกายน 2018

สะเทือนจริยธรรมวงการวิทย์! จีนอ้างให้กำเนิด ‘ทารกตัดแต่งยีน’ สำเร็จเป็นครั้งแรกของโลก

สร้างเสียงวิพากษ์วิจารณ์ด้านจริยธรรมไปทั่ววงการวิทยาศาสตร์โลก หลังนายเหอ เจี้ยนกุ้ย ศาสตราจารย์ด้านพันธุกรรม ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด สหรัฐอเมริกา นักวิทยาศาสตร์ผู้ทำงานในห้องแล็บแห่งหนึ่งที่ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเมืองเซินเจิ้น ประเทศจีน ได้ระบุว่า ตนเพิ่งได้ช่วยให้เด็กทารกฝาแฝดที่ผ่านการตัดแต่งยีนถือกำเนิดขึ้นเป็นครั้งแรกของโลก &n...
1 มิถุนายน 2018

ใส่แว่นแล้วดูฉลาด หรือเพราะฉลาดจึงต้องใส่แว่น งานวิจัยอาจไขคำตอบ

จากผลการศึกษาของมหาวิทยาลัยเอดินบะระในสกอตแลนด์ พบว่า คนฉลาดอาจมียีนที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของสายตามากกว่าคนทั่วไป 30%   นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเอดินบะระวิเคราะห์ข้อมูลด้านสติปัญญาและพันธุกรรมของกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุระหว่าง 16-102 ปี รวม 300,000 คน ซึ่งรวบรวมโดยคลังข้อมูลสุขภาพ UK Biobank   จากการวิเคราะห์พบว่า “มีความคา...
5 มีนาคม 2018

วิทยาศาสตร์แห่งความขี้เกียจ อะไรทำให้เราเกียจคร้าน

การได้นั่งๆ นอนๆ ไม่ต้องทำงาน ไม่ต้องออกกำลังกาย ไม่ต้องทำอะไรเลย น่าจะเป็นเรื่องแสนสุขแสนสบายของมนุษย์ทุกคนใช่ไหมครับ เขาถึงมีคำพูดว่า ‘นั่งกินนอนกิน’ ซึ่งหมายถึงการมีชีวิตแสนสุขแบบเศรษฐีที่ไม่ต้องทำงาน   แต่ในอีกด้านหนึ่ง การมีชีวิตแบบนั้นคือสิ่งที่หลายคนเรียกว่าเป็นความ ‘ขี้เกียจ’ ซึ่งเอาเข้าจริงต้องบอกคุณว่ามันเป็นสภาวะที่เกิดขึ้นได้...
4 สิงหาคม 2017

นักวิทย์ฯ กำจัด ‘ยีนโรคกล้ามเนื้อหัวใจ’ ในตัวอ่อนมนุษย์สำเร็จ

     โรคทางพันธุกรรมดูไกลเกินเอื้อมที่จะควบคุมได้ตั้งแต่เนิ่นๆ จนผู้คนต้องดูแลตัวเองหรือเพียงรอเข้ารับการรักษาเท่านั้น แต่คงไม่มีวิธีการใดจะเด็ดขาดไปกว่าการตัดยีนร้ายที่มีมาตั้งแต่กำเนิดไปเลย          ด้วยความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ดีเอ็นเอกลายพันธุ์ที่ก่อให้เกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจเสื่อมสามารถถูกกวา...
4 มิถุนายน 2017

คนอวัยวะหมู

    นานมาแล้ว สมัยที่ผมยังทำนิตยสาร Trendy Man โดยมีพี่โหน่ง-วงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์ เป็นบรรณาธิการบริหาร (ซึ่งมากกว่า 20 ปีที่แล้ว) คอลัมน์หนึ่งที่ผมเคยเขียนให้กับนิตยสารเล่มนี้เป็นเรื่องราวทางวิทยาศาสตร์นี่แหละครับ     ตอนนั้นจำได้ติดใจเลยว่ามีข่าวเรื่องนักวิทยาศาสตร์พยายามจะปลูกถ่ายอวัยวะ โดยนำเอาอวัยวะของหมูมาใส่ไว้ในร่างกา...


Close Advertising
X