×

ปรีดี พนมยงค์

Pridi คาเฟ่ในโรงคั่ว จุดนัดพบสำหรับคนรักกาแฟและขนมปังในซอยปรีดี พนมยงค์ 25
20 กุมภาพันธ์ 2022

Pridi คาเฟ่ในโรงคั่ว จุดนัดพบสำหรับคนรักกาแฟและขนมปังในซอยปรีดี พนมยงค์ 25

สัปดาห์ที่ผ่านมาซอยปรีดี พนมยงค์ 25 ต้อนรับคาเฟ่สำหรับคนรักอาหารเช้าอีกหนึ่งแห่งหนึ่งในชื่อเรียบง่ายว่า Pridi    ขอสารภาพตรงๆ ว่าติดตามอินสตาแกรม @pridi.bkk มาสักพักหลังจากที่ทราบว่าที่นี่เป็นโปรเจกต์ล่าสุดของเชฟสายนอร์ดิก ต้อยติ่ง-กานต์ตา สิทธิธรรม ด้วยความหวังจะตามไปกินขนมปัง และอาหารของเธอ ซึ่งเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา P...
2 กุมภาพันธ์ 2022

เสวนา ‘1 ปีหลังรัฐประหารพม่า’ เสียงแตก ปมผู้อพยพจากพม่า ภาระของไทยหรือโอกาสด้านแรงงาน

วานนี้ (1 กุมภาพันธ์) ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ มีการเสวนาวิชาการ ‘1 ปีหลังรัฐประหารพม่า’ ณ ห้องพูนศุข วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ถ่ายทอดสดผ่านแฟนเพจ PBIC Thammasat จัดโดยวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านการย้ายถิ่นและการพัฒนา (ARCM-CE) สถาบันเอเชียศึกษา...
Pridi Banomyong
16 สิงหาคม 2021

16 สิงหาคม 2564 – วันสันติภาพไทย

ย้อนไปเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2488 ประเทศไทยโดย ปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าขบวนการเสรีไทย ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 8 ได้ออกประกาศสันติภาพในพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลให้การประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและบริเตนใหญ่เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 เป็นโมฆะ ซึ่งต่อมาได้กำหนดให้วันที่ 16 สิงหาคมของทุกปี เป็นวันสันติภ...
ปรีดี พนมยงค์
11 พฤษภาคม 2021

11 พฤษภาคม 2443 – วันปรีดี พนมยงค์

11 พฤษภาคม 2443 คือวันเกิดของ ปรีดี พนมยงค์ บุคคลสำคัญของโลก รัฐบุรุษอาวุโส ผู้นำคณะราษฎรสายพลเรือน ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบประชาธิปไตย ผู้กำเนิดรัฐธรรมนูญฉบับแรกของไทย นายกรัฐมนตรี 3 สมัย ผู้ก่อตั้งธนาคารแห่งประเทศไทย และผู้ก่อตั้งและผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์   หลังประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองมาสู่ระบอบประชาธิปไต...
22 พฤษภาคม 2020

‘ดุษฎี พนมยงค์’ 120 ปี ชาตกาลปรีดี พนมยงค์ : พ่อในความทรงจำของลูก

The Standard Daily พาชมบทสนทนาย้อนประวัติศาสตร์ที่ยังไม่สูญหายของปรีดี พนมยงค์ ในวาระครบรอบชาตกาล 120 ปี สอดส่องร่องรอยการต่อสู้และความเปลี่ยนแปลงของประชาธิปไตยไทย ผ่านสายตาของลูกสาว 'ดุษฎี พนมยงค์'...
27 มิถุนายน 2475
27 มิถุนายน 2019

27 มิถุนายน 2475 – ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญฉบับแรก

รัฐธรรมนูญฉบับแรกที่ต้องกลายมาเป็นฉบับชั่วคราวนั้น เป็นฉบับของคณะราษฎร โดยมี ‘หลวงประดิษฐ์มนูธรรม’ เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการร่างขึ้น โดยมีเพียง 39 มาตรา    ทั้งนี้หากมองดูในเนื้อหาสาระของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ พบว่า มีเนื้อหากำหนดให้ ‘พระมหากษัตริย์’ (ในรัฐธรรมนูญนี้ใช้เพียงคำว่า ‘กษัตริย์’) เป็นประมุขสูงสุด และเป็นเพียงสัญลักษณ์ของประเทศ...
On this day ปรีดี พนมยงค์
12 เมษายน 2019

12 เมษายน 2476 – ปรีดี พนมยงค์ ถูกเนรเทศออกนอกประเทศ

นายปรีดี พนมยงค์ หรือหลวงประดิษฐ์มนูธรรม เดินทางไปพำนักที่ประเทศฝรั่งเศสตามคำขอร้องของรัฐบาลในวันนี้ หลังจากที่ได้เสนอร่างหลักการเศรษฐกิจประจำชาติ ‘เค้าโครงการเศรษฐกิจ’ และเสนอต่อคณะกรรมการราษฎร เมื่อวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2475 แต่แนวคิดของนายปรีดีได้ถูกคัดค้านจากเสียงส่วนใหญ่ในสภา รวมถึงพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงมีข้อวินิจฉัยต่อร่างเค...
31 ตุลาคม 2018

สิ้น ‘วาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์’ ทายาทปรีดี รัฐบุรุษอาวุโส สิริอายุ 77 ปี

หลัง ครูวาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ เข้ารับการรักษาด้วยอาการป่วย ที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ มาระยะเวลาหนึ่ง ท่ามกลางกำลังใจจากครอบครัว และผู้คนอันเป็นที่รัก วันนี้ THE STANDARD ได้ทราบข่าวที่นำมาซึ่งความโศกเศร้า ครูวาณี ได้จากไปอย่างสงบแล้ว สิริอายุ 77 ปี ครูวาณี เป็นบุตรสาวคนสุดท้อง ในจำนวนพี่น้อง 6 คน ของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโ...
3 สิงหาคม 2018

นัยยะและอารมณ์ขันการเมืองไทย ผ่านแสงเสียงธรรมศาสตร์ ก่อนเริ่มศักราชเลือกตั้งใหญ่

สนามหญ้า สายฝน ถุงผ้า การแยกขยะ ที่กล่าวมาทั้งหมดนั้นสามารถพบเห็นและสัมผัสบรรยากาศได้จากงานปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งจัดงานดังกล่าวต่อเนื่องมา 12 ปีแล้ว เพื่อต้อนรับนักศึกษาใหม่สู่ชีวิตวัยอุดมศึกษาเต็มขั้น สำหรับปีนี้ใช้ชื่อธีมงานว่า ‘ณ ดินแดนแห่งนี้มีตำนาน ขอเธอสืบสานจิตวิญญาณธรรม’   ไฮไลต์สำคัญนอกจากจะรณรงค์ให้นั...
23 มิถุนายน 2018

ความทรงจำของ พุทธินาถ พหลพลพยุหเสนา: 8 ปีในวังปารุสก์ 86 ปีต้นไม้ที่คณะราษฎรปลูก

คุณลุงพระยาทรงสุรเดช คุณอาหลวงประดิษฐ์ คุณอาควง คุณอามโน ข้างต้นคือถ้อยคำที่เราจะได้ยินตลอดการสนทนา ซึ่งน้อยครั้งที่เราจะได้ฟังเรื่องราวของคณะผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475 จากคนที่เรียกบุคคลในประวัติศาสตร์หลายๆ ท่านว่า คุณลุง คุณอา ตลอดจนได้ยินการออกเสียงคำว่า ‘คะ นะ ราด’ เมื่อหมายความถึงคณะราษฎร ทั้งๆ ที่ผู้พูดก็รู้ว่าคณะราษฎรไม่ม...


Close Advertising
X