×

นักวิทยาศาสตร์

6 สิงหาคม 2022

รัสเซียจับกุมนักวิทยาศาสตร์ผู้พัฒนาขีปนาวุธไฮเปอร์โซนิก ข้อหากบฏต่อชาติ

วานนี้ (5 สิงหาคม) สำนักข่าว TASS ของรัสเซีย รายงานว่า นักวิทยาศาสตร์ระดับแนวหน้าผู้รับผิดชอบด้านการพัฒนาขีปนาวุธไฮเปอร์โซนิก ถูกจับกุมตัวในข้อหากบฏต่อประเทศ   ดร.อเล็กซานเดอร์ ชิปลยุก ผู้อำนวยการสถาบันกลศาสตร์เชิงทฤษฎีและกลศาสตร์ประยุกต์ของสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งรัสเซีย สาขาไซบีเรีย เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวรัสเซียคนที่ 3 ที่ถูกจับกุมตัวในช่ว...
แบคทีเรีย
31 กรกฎาคม 2022

นักวิทยาศาสตร์ค้นพบ แบคทีเรียจากทะเลสาบ 29 แห่งในสแกนดิเนเวีย ชอบกิน ‘พลาสติก’ มากกว่าซากพืชซากสัตว์

ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา มีโครงการวิจัยมากมายที่ค้นพบวิธีการกำจัดพลาสติกจากทะเลสาบและมหาสมุทร ไม่ว่าจะเป็นหุ่นยนต์ฉลาม ปลากินพลาสติก หรือแม้แต่วิธีการเบสิกอย่างการพยายามใช้พลาสติกให้น้อยลง แต่ดูเหมือนว่าธรรมชาติจะทนมนุษย์ไม่ไหว และกำลังหาทางออกที่ดีแก่เรา   ผลการศึกษาใหม่ล่าสุดจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการทางวิทยาศาสตร์ธ...
Tibetan Glacier Genome and Gene (TG2G) 
4 กรกฎาคม 2022

นักวิทยาศาสตร์เจอจุลินทรีย์ที่โลกไม่เคยพบมาก่อนฝังตัวอยู่ในธารน้ำแข็ง หวั่นก่อโรคระบาดใหม่

นักวิทยาศาสตร์พบจุลินทรีย์สปีชีส์ใหม่ที่โลกไม่เคยเห็นมาก่อนกว่า 900 ชนิดถูกแช่แข็งอยู่ในธารน้ำแข็ง ณ ที่ราบสูงทิเบต ซึ่งทำให้เกิดความกังวลว่าจุลินทรีย์ดังกล่าวอาจเป็นเชื้อที่ก่อให้เกิดโรคระบาดใหม่ได้ในอนาคต   นักวิจัยจากสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน (Chinese Academy of Sciences) ได้เก็บตัวอย่างจากธารน้ำแข็ง 21 แห่งบนที่ราบสูงทิเบต และนำเชื้...
กระดูกมนุษย์โบราณ
29 มิถุนายน 2022

นักวิทยาศาสตร์เผย โครงกระดูกมนุษย์โบราณที่พบก่อนหน้านี้มีอายุถึง 3.4-3.6 ล้านปี เก่าแก่กว่าป้าลูซี่

การวิจัยใหม่ล่าสุดเผยให้เห็นว่า ฟอสซิลโครงกระดูกมนุษย์โบราณที่พบในถ้ำ Sterkfontein ของแอฟริกาใต้ มีอายุเก่าแก่กว่าที่ประเมินไว้ก่อนหน้านี้ราว 1 ล้านปี ซึ่งนั่นแปลว่าโครงกระดูกดังกล่าวมีอายุมากถึง 3.4-3.6 ล้านปี หรือเก่าแก่กว่ามนุษย์โบราณชื่อดังอย่าง ‘ป้าลูซี่’ ซึ่งเคยมีชีวิตอยู่เมื่อ 3.2 ล้านปีที่แล้ว   ถ้ำ Sterkfontein ถือเป็นทรัพยากรอั...
ไมโครพลาสติก
10 มิถุนายน 2022

นักวิทยาศาสตร์พบ ‘ไมโครพลาสติก’ ในหิมะที่เพิ่งตกในแอนตาร์กติกา

นักวิจัยพบอนุภาคไมโครพลาสติกขนาดจิ๋วในหิมะที่เพิ่งตกใหม่ๆ ในทวีปแอนตาร์กติกาเป็นครั้งแรก ชี้ให้เห็นว่าปัญหามลพิษจากขยะพลาสติกได้ทวีความรุนแรงขึ้นอย่างมาก จนแม้แต่ภูมิภาคที่อยู่ห่างไกลสุดขอบโลกยังได้รับผลกระทบ   อเล็กซ์ อาเวส นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยแคนเทอร์เบอรีของนิวซีแลนด์ ได้เก็บตัวอย่างหิมะจาก 19 พื้นที่ในแอนตาร์กติกา และพบว่ามีไมโครพล...
อันเดรียส เจียงซีเอ็นซิส
21 พฤษภาคม 2022

นักวิทยาศาสตร์พบซาลาแมนเดอร์ยักษ์จีน สายพันธุ์ใหม่ชื่อ ‘อันเดรียส เจียงซีเอ็นซิส’

เมื่อไม่นานนี้ ทีมนักวิทยาศาสตร์จีนได้ค้นพบ ‘ซาลาแมนเดอร์ยักษ์จีน’ สายพันธุ์ใหม่ บริเวณเขตอนุรักษ์ธรรมชาติแห่งหนึ่ง ในมณฑลเจียงซีทางตะวันออกของประเทศ ทีมนักวิทยาศาสตร์จีน ซึ่งนำโดย เชอจิ้ง นักวิจัยจากสถาบันสัตววิทยาคุนหมิง สังกัดสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน ระบุว่าซาลาแมนเดอร์ยักษ์จีนสายพันธุ์ใหม่นี้มีชื่อว่า ‘อันเดรียส เจียงซีเอ็นซิส’ (Andrias jiang...
ฟอสซิล
12 พฤษภาคม 2022

หางยาวกว่าตัว! นักวิทยาศาสตร์จีนพบฟอสซิล ‘สัตว์เลื้อยคลานในทะเล’ พันธุ์ใหม่

วานนี้ (11 พฤษภาคม) คณะนักวิทยาศาสตร์จีนค้นพบฟอสซิลสัตว์เลื้อยคลานในทะเลสายพันธุ์ใหม่ อายุ 244 ล้านปี ซึ่งรู้จักกันในชื่อ พาคีพลูโรซอร์ (Pachypleurosaur) โดยเป็นฟอสซิลสัตว์เลื้อยคลานในทะเลที่มีหางยาวที่สุดเท่าที่เคยพบ บ่งชี้ว่ามันอาจเป็นนักว่ายน้ำชั้นยอด   พาคีพลูโรซอร์เป็นกลุ่มของสัตว์เลื้อยคลานในทะเลที่มีลักษณะคล้ายจิ้งจกขนาดเล็กถึงกลา...
อังกฤษ
10 ธันวาคม 2021

นักวิทยาศาสตร์ที่ปรึกษารัฐบาลเตือน โอไมครอนอาจระบาดในอังกฤษเร็วกว่าในแอฟริกาใต้

ที่ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์อาวุโสของรัฐบาลอังกฤษเตือนว่า เชื้อไวรัสโควิดสายพันธุ์โอไมครอนอาจแพร่ระบาดในอังกฤษเร็วยิ่งกว่าในแอฟริกาใต้ พร้อมทั้งระบุว่าโอไมครอนกำลังทำลายความหวังในการควบคุมการแพร่ระบาด   ศาสตราจารย์จอห์น เอ็ดมันด์ นักระบาดวิทยาจาก London School of Hygiene and Tropical Medicine และสมาชิกคณะที่ปรึกษาทางวิทยาศาสตร์สำหรับเหตุฉุกเ...
Nobel Prize in Chemistry
6 ตุลาคม 2021

2 ศาสตราจารย์คว้าโนเบลเคมี 2021 จากผลงานการพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาอินทรีย์แบบไม่สมมาตร เครื่องมือใหม่และชาญฉลาดในการสร้างโมเลกุล

รางวัลโนเบลสาขาเคมีประจำปี 2021 ที่มีการประกาศในวันนี้ (6 ตุลาคม) ตกเป็นของ ศาสตราจารย์เบนจามิน ลิสต์ จาก Max-Planck-Institute für Kohlenforschung ในเยอรมนี และ ศาสตราจารย์เดวิค แมคมิลแลน จากมหาวิทยาลัยพรินซ์ตันในสหรัฐอเมริกา จากการพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาอินทรีย์แบบไม่สมมาตร ซึ่งเป็น ‘เครื่องมือที่ใหม่และชาญฉลาดในการสร้างโมเลกุล’   ราชบัณฑ...
Nobel Prize in Medicine
4 ตุลาคม 2021

สองนักวิทยาศาสตร์สหรัฐฯ คว้าโนเบลการแพทย์จากการค้นพบตัวรับอุณหภูมิ และการสัมผัสที่อาจปูทางสู่วิธีการรักษาอาการเจ็บปวด

เดวิด จูเลียส และ อาร์เด็ม พาทาพูเทียน สองนักวิทยาศาสตร์สหรัฐฯ ได้รับรางวัลโนเบล สาขาการแพทย์หรือสรีรวิทยาร่วมกัน จากการค้นพบตัวรับอุณหภูมิและการสัมผัส ซึ่งอาจจะนำไปสู่วิธีการใหม่ๆ ในการรักษาอาการเจ็บปวด โดยทั้งคู่จะได้รับการแบ่งรางวัล 10 ล้านคราวน์สวีเดน (1.15 ล้านดอลลาร์) ร่วมกัน   การค้นพบของพวกเขา “ทำให้เราเข้าใจว่าความร้อน ความเย็น ...


Close Advertising
X