×

นักดาราศาสตร์

นักดาราศาสตร์ ดวงจันทร์
13 ตุลาคม 2024

นักดาราศาสตร์อาจพบหลักฐานดวงจันทร์ดวงแรก ที่โคจรรอบดาวเคราะห์ในระบบดาวอื่น

นักดาราศาสตร์อาจพบหลักฐานของดวงจันทร์บริวาร ที่โคจรรอบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะดวงแรก ในระบบดาวที่อยู่ห่างโลกไป 635 ปีแสง จากการศึกษาพฤติกรรมของดวงจันทร์ไอโอที่โคจรรอบดาวพฤหัสบดี   ในปัจจุบันนักดาราศาสตร์ยังไม่พบหลักฐานที่ชัดเจนว่ามีดวงจันทร์โคจรรอบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ เนื่องจากดวงจันทร์เหล่านี้อาจมีขนาดเล็กเกินกว่าที่เทคโนโลยีบนโลกในปั...
2 ตุลาคม 2024

นักดาราศาสตร์พบดาว Barnard b ดาวเคราะห์หินที่โคจรรอบดาวฤกษ์ดวงเดี่ยวใกล้โลกที่สุด

นักดาราศาสตร์ยืนยันการค้นพบดาว Barnard b ดาวเคราะห์หินที่โคจรรอบดาว Barnard’s Star ดาวฤกษ์ดวงเดี่ยวที่อยู่ใกล้กับระบบสุริยะที่สุด   ระบบดาวดังกล่าวอยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 6 ปีแสง และเป็นระบบดาวที่อยู่ใกล้ระบบสุริยะเป็นอันดับสองต่อจากระบบ Alpha Centauri อันประกอบด้วยดาวฤกษ์ 3 ดวง และดาวเคราะห์อย่างน้อย 1 ดวง ทำให้ Barnard’s Star เป็นดาวฤกษ...
กาแล็กซี GS-NDG-9422
28 กันยายน 2024

นักดาราศาสตร์พบกาแล็กซีประหลาดในยุคแรกเริ่มของจักรวาล จากข้อมูลกล้องเจมส์ เว็บบ์

นักดาราศาสตร์ พบ กาแล็กซีประหลาด ในยุคแรกเริ่มของจักรวาล เมื่อแสงจากฝุ่นก๊าซห้อมล้อมดวงดาวกลับส่องสว่างกว่าแสงดาวฤกษ์ และอาจเป็นกาแล็กซีที่อยู่กึ่งกลางระหว่างการกำเนิดดาวฤกษ์รุ่นแรกก่อนวิวัฒนาการมาเป็นดาราจักรอย่างที่เรารู้จักในปัจจุบัน   กาแล็กซี GS-NDG-9422 อาจปรากฏเป็นจุดสว่างมัวๆ ในภาพถ่ายอวกาศห้วงลึกของกล้องเจมส์ เว็บบ์ แต่ข้อมูลจาก...
ดาวเคราะห์
4 กันยายน 2024

นักดาราศาสตร์พบดาวเคราะห์น้อยขนาด 1 เมตร จะพุ่งชนโลกคืนวันที่ 4 กันยายน แต่ไม่เป็นอันตราย

นักดาราศาสตร์พบ ดาวเคราะห์น้อย ขนาด 1 เมตร จะพุ่งชนโลกเหนือประเทศฟิลิปปินส์ คืนนี้ (4 กันยายน) เวลา 22.46 น. ตามเวลาประเทศไทย โดยมีโอกาสเห็นเป็นดาวตกบนท้องฟ้า และไม่เป็นอันตรายต่อโลก   Jacqueline Fazekas นักวิจัยของโครงการ Catalina Sky Survey ได้ตรวจพบดาวเคราะห์น้อยขนาด 1 เมตร ชื่อ CAQTDL2 จากการใช้อุปกรณ์ของหอดูดาว Mount Lemmon Survey ต...
4 กันยายน 2024

คณะนักดาราศาสตร์สมัครเล่นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ TOI 6883 b ประเภทดาวพฤหัสบดีอุ่น

คณะนักดาราศาสตร์สมัครเล่นใช้กล้องโทรทรรศน์จากหลังบ้านตนเอง ร่วมยืนยันการค้นพบดาวเคราะห์ประเภทดาวพฤหัสบดีอุ่น หรือ Warm Jupiter ที่โคจรรอบดาวฤกษ์ที่ห่างจากโลกไป 305 ปีแสง   การค้นพบดังกล่าวใช้เทคนิคการ ‘อุปราคา’ หรือ Transit เมื่อแสงจากดาวฤกษ์เกิดหรี่ลงไปชั่วขณะในระหว่างที่มีดาวเคราะห์โคจรผ่านหน้า แบบเดียวกับปรากฏการณ์สุริยุปราคาที่ทำให้ด...
15 กรกฎาคม 2024

ข้อมูลใหม่พบว่า ดาว LHS 1140 b อาจเป็นดาวเคราะห์ที่มีโอกาสดีที่สุดในการพบมหาสมุทร

นักดาราศาสตร์ใช้กล้องเจมส์ เว็บบ์ สำรวจดาว LHS 1140 b ยืนยันว่าเป็นดาวเคราะห์คล้ายโลกในเขตเอื้อให้ชีวิตดำรงอยู่ หรือ Habitable Zone ที่อาจนำไปสู่การค้นพบมหาสมุทรบนดาวเคราะห์ดวงอื่นนอกจากโลกเป็นครั้งแรก   Charles Cadieux หัวหน้าคณะวิจัยจากมหาวิทยาลัยมอนทรีออล ระบุว่า “จากดาวเคราะห์ในเขตเอื้อให้ชีวิตดำรงอยู่ทุกดวงที่เรารู้จัก LHS 1140 b อา...
9 กรกฎาคม 2024

เด็กไทยวิจัยไกลถึงดวงดาว: ชวนดูโครงงานดาราศาสตร์ของเยาวชนไทย ในงาน TACs 2024

อวกาศอาจเป็นเรื่องห่างไกล และดูเกินเอื้อมคว้าไปถึงดาว แต่ไม่ใช่สำหรับเยาวชนหลายคน ที่แม้เท้าของพวกเขายังอยู่บนพื้นโลก แต่ดวงตาและความคิดพวกเขาได้แหงนมองไปยังเทหวัตถุบนฟ้าสุดแสนไกล   เมื่อวันที่ 29-30 มิถุนายนที่ผ่านมา THE STANDARD ได้ร่วมสังเกตการณ์งานประชุมวิชาการดาราศาสตร์แห่งประเทศไทย (สำหรับเยาวชน) ครั้งที่ 10 หรืองาน TACs 2024 จัดโด...
หลุมดำ
17 พฤษภาคม 2024

นักดาราศาสตร์พบการชนกันของสองหลุมดำที่อยู่ไกลจากโลกที่สุด

นักดาราศาสตร์พบหลักฐานการชนกันระหว่าง หลุมดำ สองแห่งที่ใจกลางของ 2 กาแล็กซี เป็นครั้งแรกที่ตรวจพบหลุมดำชนกันในยุคแรกเริ่มของเอกภพ และนับเป็นการควบรวมของหลุมดำที่ไกลจากโลกที่สุดในปัจจุบัน   การค้นพบดังกล่าวเกิดขึ้นในบริเวณ ZS7 ที่อุปกรณ์ NIRSpec ของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ตรวจพบว่าเป็นหลักฐานของการควบรวมกันระหว่างกาแล็กซี 2 แห่ง ซ...
ค้นพบดวงจันทร์
26 กุมภาพันธ์ 2024

นักดาราศาสตร์ค้นพบ 3 ดวงจันทร์ใหม่ที่โคจรรอบดาวยูเรนัสและดาวเนปจูน

นักดาราศาสตร์ได้ค้นพบดวงจันทร์ดวงใหม่ของดาวยูเรนัสเป็นครั้งแรกในรอบกว่า 20 ปี เช่นเดียวกับสองดวงจันทร์ใหม่ของดาวเนปจูนที่มีความสว่างน้อยสุดเท่าที่ถูกตรวจพบได้จากกล้องโทรทรรศน์บนภาคพื้นโลก   ดวงจันทร์ที่มีชื่อชั่วคราวว่า S/2023 U1 ก่อนจะได้รับการตั้งชื่อตามตัวละครจากบทประพันธ์ของ วิลเลียม เชกสเปียร์ กลายเป็นเทหวัตถุดวงที่ 28 ที่ถูกพบว่าโค...
20 กุมภาพันธ์ 2024

นักดาราศาสตร์พบเควซาร์ที่สว่างที่สุดในเอกภพ และหลุมดำที่มีอัตราเติบโตเร็วที่สุด

นักดาราศาสตร์ค้นพบเควซาร์สว่างแห่งใหม่ ที่ทำลายสถิติเป็นวัตถุที่สว่างที่สุดในเอกภพ จากหลุมดำที่มีอัตราเติบโตรวดเร็วที่สุดเท่าที่เคยถูกพบมา ด้วยการกลืนกินมวลเข้าไปเทียบเท่ากับมวลของดวงอาทิตย์ในแต่ละวัน   เควซาร์ J0529-4351 ที่ถูกพบโดยคณะนักดาราศาสตร์จากนานาประเทศ อยู่ห่างจากโลกมากเสียจนแสงต้องใช้เวลากว่า 12,000 ล้านปีเพื่อเดินทางมาถึง ...


Close Advertising
X