×

ดาวพฤหัสบดี

Starry Night over Bangkok 2024 ดูดาวกลางกรุง
8 ธันวาคม 2024

‘ดูดาวกลางกรุง’ ในคืนดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี

วันนี้ (7 ธันวาคม) ช่างภาพ THE STANDARD สำรวจกิจกรรม ‘ดูดาวกลางกรุง’ Starry Night over Bangkok 2024 ในคืนดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี   จัดโดยกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NARIT กรุงเทพมหานคร และหน่วยงานพันธมิตร ร่วมเนรมิตลานอัฒจันทร์กลาง สวนเบญจกิติ เป็นมหา...
7 ธันวาคม ดาวพฤหัสบดีอยู่ใกล้โลกที่สุดในรอบปี
6 ธันวาคม 2024

7 ธันวาคม ดาวพฤหัสบดีอยู่ใกล้โลกที่สุดในรอบปี

วันที่ 7 ธันวาคมนี้ ดาวพฤหัสบดีอยู่ในตำแหน่งใกล้โลกที่สุดในปี 2024 สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้ตลอดคืน   ดาวพฤหัสบดีเป็นดาวเคราะห์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 11 เท่าของโลก โดยในวันที่ 7 ธันวาคม ดาวพฤหัสบดีจะอยู่ในตำแหน่งตรงข้ามดวงอาทิตย์ หรือเรียกว่า Jupiter Opposition หมายความว่าดวงอาทิตย์ โลก และดาวพฤห...
29 กันยายน 2024

มีอะไรอยู่บน ดวงจันทร์ยูโรปา? ทำไม NASA ถึงส่งภารกิจ Europa Clipper ไปสำรวจ

ในวันที่ 10 ตุลาคมนี้ NASA เตรียมส่งยาน Europa Clipper ออกเดินทางไกลกว่า 2,900 ล้านกิโลเมตร และใช้ระยะเวลาในอวกาศลึกนานกว่า 5 ปีครึ่ง เพื่อออกสำรวจดวงจันทร์ยูโรปาของดาวพฤหัสบดีอย่างใกล้ชิด   Europa Clipper เป็นยานอวกาศลำใหญ่ที่สุดของ NASA ที่มีภารกิจมุ่งหน้าไปสำรวจวัตถุในระบบสุริยะ โดยมีความยาวถึง 30 เมตร เมื่อกางแผงโซลาร์เซลล์ออกระหว่าง...
18 สิงหาคม 2024

จับตายานสำรวจดาวพฤหัสบดี JUICE กลับมาบินผ่านโลก เช้าวันที่ 21 สิงหาคม

เช้ามืดวันที่ 21 สิงหาคม ยาน JUICE ที่มีภารกิจมุ่งหน้าไปสำรวจดาวพฤหัสบดีกำลังเดินทางกลับมาบินผ่านโลก อาจมองเห็นได้จากประเทศไทย   ยานอวกาศ JUICE หรือ Jupiter Icy Moons Explorer ขององค์การอวกาศยุโรป (ESA) ออกเดินทางจากโลกเมื่อวันที่ 14 เมษายน 2023 และมีกำหนดเดินทางไปถึงระบบดาวพฤหัสบดีในเดือนกรกฎาคม 2031   เหตุผลที่ยาน JUICE ใช้เ...
Jupiter
10 พฤศจิกายน 2023

NASA เปิดภาพดาวพฤหัสบดีสีแปลกตา ในช่วงคลื่นอัลตราไวโอเลตจากกล้องฮับเบิล

NASA เปิดภาพถ่ายดาวพฤหัสบดีโทนสีพาสเทล จากการบันทึกภาพโดยอุปกรณ์บนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ในช่วงที่ดาวอยู่ตำแหน่งใกล้โลกที่สุดในปี 2023 เมื่อต้นเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา   ภาพดังกล่าวไม่ใช่สีจริงของดาวพฤหัสบดี โดยเป็นการสำรวจในช่วงคลื่นอัลตราไวโอเลต และแทนค่าสีในช่วงที่ตามนุษย์มองเห็นในข้อมูลจากฟิลเตอร์ที่ต่างกัน ได้แก่ สีน้ำเงินกับฟิลเ...
ดูดาว
3 พฤศจิกายน 2023

ดูดาวรับลมหนาวกับ 9 กิจกรรมจากเทศกาลชมดาวหน้าหนาว 2566-2567

เข้าสู่เดือนพฤศจิกายนที่ลมหนาวพัดผ่าน ช่วงเวลาดีที่ท้องฟ้าไทยปลอดโปร่งไร้เมฆหมอก ควรค่าแก่การดูดาว แน่นอนปีนี้เทศกาลชมดาวหน้าหนาวเวียนมาอีกครั้ง และสถาบัน NARIT ก็ขนเอาหลากหลายกิจกรรมมาเอาใจ ตั้งแต่อีเวนต์ดูปรากฏการณ์ธรรมชาติอย่างดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี ฝนดาวตกเจมินิดส์ ไปจนถึงคลาสดูดาวกลางกรุง ที่ชวนชาวกรุงเทพฯ ตามหาหมู่ดาวที่หลบซ่อนอยู่ท่...
ดาวพฤหัสบดีใกล้โลก
2 พฤศจิกายน 2023

ชวนดูปรากฏการณ์ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกสุดในปี 2023 คืนวันที่ 3 พฤศจิกายนนี้

คืนวันที่ 3 พฤศจิกายนนี้ ดาวพฤหัสบดีจะโคจรมาอยู่ในตำแหน่งใกล้โลกที่สุดในรอบปี 2023 สามารถสังเกตบนท้องฟ้าได้ตลอดคืน   นี่คือปรากฏการณ์ Jupiter Opposition หรือการที่ดาวพฤหัสบดีอยู่ในตำแหน่งตรงกันข้ามกับดวงอาทิตย์ หากวาดเส้นตรงสมมติจากแนวบนของระบบสุริยะจะเห็นดวงอาทิตย์ โลก และดาวพฤหัสบดี อยู่ในแนวเดียวกัน ทำให้เป็นช่วงเวลาที่ดาวพฤหัสบดีจะอย...
Human face on Jupiter
29 ตุลาคม 2023

NASA เปิดภาพใบหน้าชวนหลอนบนดาวพฤหัส รับธีมวันฮาโลวีน

NASA เปิดภาพถ่ายชุดล่าสุดจากยาน Juno ขณะโคจรเข้าไปเฉียดใกล้ดาวพฤหัส แสดงให้เห็นบริเวณกลุ่มเมฆและพายุเหนือผิวดาวที่ดูคล้ายใบหน้าของมนุษย์   ภาพดังกล่าวถูกบันทึกเมื่อวันที่ 7 กันยายน ในระหว่างการเฉียดใกล้ผิวดาวเป็นครั้งที่ 54 ด้วยระยะห่างประมาณ 7,700 กิโลเมตรจากชั้นเมฆ ซึ่งได้รับการประมวลผลโดย วลาดิเมียร์ ทาราซอฟ ประชาชนทั่วไปที่นำข้อมูลภา...
1 กันยายน 2023

กล้องโทรทรรศน์ในญี่ปุ่นบันทึกวินาทีดาวพฤหัสบดีถูกชนโดยวัตถุบางอย่าง

เมื่อเวลา 23.45 น. ของคืนวันที่ 28 สิงหาคม กล้องโทรทรรศน์หลายแห่งในญี่ปุ่นสามารถบันทึกภาพดาวพฤหัสบดี ขณะถูกวัตถุบางอย่างพุ่งชนเข้ากับผิวดาว   อย่างไรก็ตาม วัตถุดังกล่าวอาจเป็นแค่ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง หรือเศษอุกกาบาต ที่พุ่งชนกับตัวดาวอยู่บ่อยครั้ง จากแรงโน้มถ่วงอันมหาศาลของดาวพฤหัสบดี ที่ดึงดูดให้วัตถุต่างๆ มาพุ่งชนได้   ในอดี...
19 เมษายน 2023

รู้จักยาน JUICE​ และภารกิจค้นหาชีวิตต่างภพใต้ผิวน้ำแข็ง​ของดวงจันทร์​ดาวพฤหัสบดี

จรวดแอเรียน 5 ส่งยาน JUICE ขององค์การอวกาศยุโรปหรือ ESA ออกจากฐานปล่อยจรวดในเฟรนช์เกียนา ภูมิภาคโพ้นทะเลของฝรั่งเศสในทวีปอเมริกาใต้ เมื่อเวลา 19.14 น. ของวันที่ 14 เมษายนที่ผ่านมา ตามเวลาในประเทศไทย   การปล่อยยานครั้งนี้ล่าช้าจากกำหนด 1 วันเนื่องจากเกิดอุบัติเหตุฟ้าผ่าบริเวณฐานปล่อยจรวด อย่างไรก็ตาม การปล่อยยานในรอบที่ 2 นี้สำเร็จด้วยดี ...


Close Advertising