×

ดาราศาสตร์

17 ธันวาคม 2024

SPACE JOURNEY สำรวจโลกอวกาศของมนุษยชาติผ่านงานเสมือนจริงและของจริง

หินจากดวงจันทร์ เศษอุกกาบาต ชิ้นยานอวกาศ หรือแม้แต่แผงควบคุมต้นฉบับจากศูนย์บัญชาการภารกิจฮูสตัน ฯลฯ ถ้าคุณสนใจเรื่องอวกาศหรือเป็นเนิร์ดสายนี้ เราแนะนำให้คุณมาเช็กอินที่ BITEC BURI กับนิทรรศการใหม่ล่าสุดที่ตระเวนจัดมาแล้วถึง 5 ประเทศทั่วโลก SPACE JOURNEY BANGKOK   นิทรรศการอวกาศระดับโลกที่นำเสนอเรื่องราวภารกิจสำรวจอวกาศของมนุษยชาติตั้งแต่...
28 พฤศจิกายน 2024

NARIT เปิดรับสมัครเขตอนุรักษ์ท้องฟ้ามืดในประเทศไทย ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงดาราศาสตร์

NARIT ร่วมกับ ททท. เชิญชวนสถานที่ดูดาวทั่วประเทศร่วมสมัครขึ้นทะเบียนเป็น ‘เขตอนุรักษ์ท้องฟ้ามืดในประเทศไทย’ ในโครงการ Amazing Dark Sky in Thailand - Season 4 ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายนนี้   การท่องเที่ยวเชิงดาราศาสตร์เป็นหนึ่งในกิจกรรมที่ได้รับความสนใจมากขึ้นในปัจจุบัน จากความสวยงามและประสบการณ์ในการได้มองเห็นดวงดาวบนท้องฟ้ายามค่ำคืน อย่างไร...
23 พฤศจิกายน 2024

นักดาราศาสตร์ถ่ายภาพดาวฤกษ์นอกทางช้างเผือก เห็นรายละเอียดได้เป็นครั้งแรก

นักดาราศาสตร์ประสบความสำเร็จในการถ่ายภาพดาวฤกษ์นอกกาแล็กซีทางช้างเผือก พร้อมเผยให้เห็นรายละเอียดอย่างใกล้ชิดได้เป็นครั้งแรก และพบว่าดาวดวงนี้กำลังจะถึงจุดจบของชีวิตในไม่ช้า   แม้ก่อนหน้านี้นักดาราศาสตร์อาจเคยถ่ายภาพดาวฤกษ์ในกาแล็กซีอื่นมาได้บ่อยครั้ง แต่ไม่มีรูปไหนที่แสดงให้เห็นรายละเอียดของดาวฤกษ์ได้เหมือนรูปล่าสุดจากเครือข่ายกล้องโทรทร...
1 พฤศจิกายน 2024

ชมคลิป: ไทยเตรียมเข้าร่วมข้อตกลงอวกาศ Artemis Accords โอกาสหรือความท้าทาย? | News Digest

ไทยกำลังจะก้าวสู่ยุคใหม่ในเวทีอวกาศ จากการที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติลงนามเข้าร่วมในข้อตกลง Artemis Accords เปิดทางให้ไทยมีส่วนร่วมกับโครงการที่กำลังจะพามนุษย์กลับสู่ดวงจันทร์และเตรียมบุกเบิกดาวอังคาร แล้วการเข้าร่วมครั้งนี้จะเปลี่ยนโฉมเศรษฐกิจอวกาศและวงการวิทยาศาสตร์ของไทยอย่างไรบ้าง?...
2 ตุลาคม 2024

นักดาราศาสตร์พบดาว Barnard b ดาวเคราะห์หินที่โคจรรอบดาวฤกษ์ดวงเดี่ยวใกล้โลกที่สุด

นักดาราศาสตร์ยืนยันการค้นพบดาว Barnard b ดาวเคราะห์หินที่โคจรรอบดาว Barnard’s Star ดาวฤกษ์ดวงเดี่ยวที่อยู่ใกล้กับระบบสุริยะที่สุด   ระบบดาวดังกล่าวอยู่ห่างจากโลกไปประมาณ 6 ปีแสง และเป็นระบบดาวที่อยู่ใกล้ระบบสุริยะเป็นอันดับสองต่อจากระบบ Alpha Centauri อันประกอบด้วยดาวฤกษ์ 3 ดวง และดาวเคราะห์อย่างน้อย 1 ดวง ทำให้ Barnard’s Star เป็นดาวฤกษ...
4 กันยายน 2024

คณะนักดาราศาสตร์สมัครเล่นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ TOI 6883 b ประเภทดาวพฤหัสบดีอุ่น

คณะนักดาราศาสตร์สมัครเล่นใช้กล้องโทรทรรศน์จากหลังบ้านตนเอง ร่วมยืนยันการค้นพบดาวเคราะห์ประเภทดาวพฤหัสบดีอุ่น หรือ Warm Jupiter ที่โคจรรอบดาวฤกษ์ที่ห่างจากโลกไป 305 ปีแสง   การค้นพบดังกล่าวใช้เทคนิคการ ‘อุปราคา’ หรือ Transit เมื่อแสงจากดาวฤกษ์เกิดหรี่ลงไปชั่วขณะในระหว่างที่มีดาวเคราะห์โคจรผ่านหน้า แบบเดียวกับปรากฏการณ์สุริยุปราคาที่ทำให้ด...
28 สิงหาคม 2024

กล้องเจมส์ เว็บบ์ เผยภาพดาวฤกษ์เกิดใหม่ในเนบิวลา NGC 1333 สุดคมชัด

กล้องเจมส์ เว็บบ์ เผยภาพสุดคมชัดของเนบิวลา NGC 1333 แสดงให้เห็นดาวฤกษ์และดาวแคระน้ำตาลที่กำลังก่อตัว   เนบิวลาดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของเมฆโมเลกุลเพอร์ซิอัส (Perseus Molecular Cloud) ที่อยู่ห่างจากโลกประมาณ 960 ปีแสง และเป็นบริเวณที่กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลบันทึกภาพไว้ในโอกาสฉลองครบ 33 ปีของภารกิจ เมื่อเดือนเมษายน ปี 2023   อย...
9 กรกฎาคม 2024

เด็กไทยวิจัยไกลถึงดวงดาว: ชวนดูโครงงานดาราศาสตร์ของเยาวชนไทย ในงาน TACs 2024

อวกาศอาจเป็นเรื่องห่างไกล และดูเกินเอื้อมคว้าไปถึงดาว แต่ไม่ใช่สำหรับเยาวชนหลายคน ที่แม้เท้าของพวกเขายังอยู่บนพื้นโลก แต่ดวงตาและความคิดพวกเขาได้แหงนมองไปยังเทหวัตถุบนฟ้าสุดแสนไกล   เมื่อวันที่ 29-30 มิถุนายนที่ผ่านมา THE STANDARD ได้ร่วมสังเกตการณ์งานประชุมวิชาการดาราศาสตร์แห่งประเทศไทย (สำหรับเยาวชน) ครั้งที่ 10 หรืองาน TACs 2024 จัดโด...
ดาวเคราะห์น้อยเบนนู
9 กรกฎาคม 2024

ดาวเคราะห์น้อยเบนนู อาจเป็นส่วนหนึ่งของดาวแห่งมหาสมุทรในอดีต

นักวิทยาศาสตร์เผยข้อมูลใหม่จากการศึกษาตัวอย่างหินของ ดาวเคราะห์น้อยเบนนู (Bennu) พบว่า ดาวดวงนี้อาจเป็นซากชิ้นส่วนที่แตกออกจากดาวที่ปกคลุมด้วยมหาสมุทรในอดีต    ข้อมูลการศึกษาตัวอย่างหินขั้นเบื้องต้นถูกเผยแพร่ในวารสาร Meteoritics & Planetary Science เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พบว่า ดาวเคราะห์น้อยดวงนี้มีองค์ประกอบของคาร์บอนและไนโตรเ...
James Webb Space Telescope
1 มิถุนายน 2024

กล้องเจมส์ เว็บบ์ พบกาแล็กซีแห่งใหม่ที่อยู่ไกลจากโลกที่สุด

นักดาราศาสตร์พบกาแล็กซีไกลโลกที่สุดเท่าที่เคยค้นพบมา จากภาพถ่ายอวกาศห้วงลึกของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   กาแล็กซีดังกล่าวมีชื่อว่า JADES-GS-z14-0 มีค่าการเลื่อนไปทางแดง หรือค่า Redshift (z) ประมาณ 14.32 เท่ากับแสงที่เราเห็นจากดาราจักรแห่งนี้ ใช้เวลานานกว่า 13,500 ล้านปีเพื่อเดินทางมาถึงโลก ทำลายสถิติเดิมของกาแล็กซี JADES-GS-z13-0 ...


Close Advertising
X