×

ดอกเบี้ย

17 เมษายน 2024

นักกลยุทธ์เตือนสหรัฐฯ เสี่ยงเผชิญเศรษฐกิจพังปี 2025 เหตุประวิงเวลาปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย

Altaf Kassam กรรมการผู้จัดการ และหัวหน้าฝ่ายกลยุทธ์การลงทุนของ EMEA ได้ออกมาเตือนเมื่อวันอังคารที่ผ่านมา (16 เมษายน) ขณะให้สัมภาษณ์กับรายการ Squawk Box Europe ของสถานีโทรทัศน์ CNBC ว่า เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาในเวลานี้เสี่ยงเผชิญพายุโหมกระหน่ำในปี 2025 หากธนาคารกลางสหรัฐฯ หรือ Fed ไม่ดำเนินการเรื่องการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลงภายในเร็ววันนี้ เนื่องจา...
IMF
12 เมษายน 2024

IMF เตือน ดอกเบี้ยสหรัฐฯ สูง ในระยะยาวอาจกระทบเสถียรภาพการเงินทั่วโลก

Kristalina Georgieva กรรมการจัดการกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) กล่าวเมื่อวันพฤหัสบดี (11 เมษายน) ว่า อัตราดอกเบี้ยสหรัฐฯ ที่สูงขึ้นไม่ใช่ข่าวดีสำหรับประเทศอื่นๆ ทั่วโลก และอาจกลายเป็นความวิตก หากอัตราดอกเบี้ยยังคงอยู่ที่ระดับสูงต่อไปเป็นเวลานาน แต่เธอคิดว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ  (Fed) จะดำเนินการได้อย่างรอบคอบ   สำนักข่าว Reuters ราย...
อัตราดอกเบี้ยนโยบายไทย
11 เมษายน 2024

วิเคราะห์อัตราดอกเบี้ยนโยบายไทย และกลยุทธ์การลงทุนตราสารหนี้

หากว่ากันด้วยเรื่อง ‘อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทย’ ที่คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ได้ประกาศให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ระดับ 2.50% การประชุมครั้งล่าสุดเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2567 นั้นจะพบว่า คณะกรรมการ กนง. ส่วนใหญ่มีความเห็นเกี่ยวกับการคงอัตราดอกเบี้ยครั้งนี้ว่าอยู่ในระดับที่เหมาะสม และสามารถสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจได้อย่างยั่งยืน อย่างไรก็ตา...
11 เมษายน 2024

ดัชนีราคาผู้บริโภคสหรัฐฯ เดือนมีนาคม พุ่งสูงเกินคาด ส่งสัญญาณ Fed เลื่อนขึ้นดอกเบี้ย

กระทรวงแรงงานสหรัฐฯ เปิดเผยดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) ซึ่งเป็นมาตรวัดเงินเฟ้อจากการใช้จ่ายของผู้บริโภค ประจำเดือนมีนาคม พบตัวเลขปรับตัวเพิ่มขึ้นมากว่าที่คาดการณ์ไว้ โดยส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากราคาน้ำมันและค่าเช่าบ้านที่ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้ผู้เชี่ยวชาญทางการเงินเริ่มลดน้ำหนักความเป็นไปได้ที่ธนาคารกลางสหรัฐฯ (Fed) จะปรับลดอัตราดอกเบี้ยในเดือนมิถุนา...
วิเคราะห์ท่าที กนง. จับตาทิศทาง ดอกเบี้ยไทย ในระยะต่อไป
10 เมษายน 2024

วิเคราะห์ท่าที กนง. จับตาทิศทางดอกเบี้ยไทยในระยะต่อไป

ไขคำตอบ กนง. ให้ความสำคัญกับปัจจัยใดมากที่สุดในการพิจารณาดอกเบี้ยในระยะข้างหน้า หลัง กนง. มีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ 2.50% ต่อปี พร้อมคาดเศรษฐกิจไทยปี 2567 โต 2.6% ลดลงจากค่ากลางในการประมาณการครั้งก่อนที่ 2.75%   ปิติ ดิษยทัต เลขานุการคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ระบุในแถลงผลการประชุม กนง. ในวันที่ 10 เมษายน 2567 ว...
กนง. ไม่ยอมลดดอกเบี้ย เศรษฐกิจ ปี 2567
10 เมษายน 2024

กนง. ไม่ยอมลดดอกเบี้ย เหตุมองเศรษฐกิจปี 2567 มีแนวโน้มโตสูงขึ้น เงินเฟ้อจ่อเข้ากรอบปลายปี

กนง. มีมติ 5 ต่อ 2 เสียง ให้คงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ 2.50% ต่อปี เหตุมองเศรษฐกิจปี 2567 มีแนวโน้มโตสูงขึ้น เงินเฟ้อจ่อเข้ากรอบปลายปี ยืนยันดอกเบี้ยปัจจุบันสอดคล้องกับการรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจและการเงิน ขณะที่อีก 2 ท่าน ห่วงศักยภาพเศรษฐกิจ หวังช่วยบรรเทาภาระของลูกหนี้ได้บ้าง   วันนี้ (10 เมษายน) ปิติ ดิษยทัต เลขานุการ คณะกรรมการนโยบายก...
10 เมษายน 2024

ชมคลิป: จับตาบทสรุป ‘ดอกเบี้ย-ดิจิทัลวอลเล็ต’ | Morning Wealth 10 เม.ย. 2567

จับตาผลการประชุม กนง. แต่ละสำนักเศรษฐศาสตร์มอง ‘ดอกเบี้ย’ ไปทางไหน ฟาก ครม. เคาะแพ็กเกจอสังหากระตุ้น GDP รายละเอียดเป็นอย่างไร ‌ บทเรียนจากตลาดหุ้นสหรัฐฯ หลังจบไตรมาสแรกปีนี้ พูดคุยกับ สกลฉัฐฐ์ เชาวน์เลิศเสรี CFA นักวิเคราะห์การลงทุน SCB Chief Investment Office ธนาคารไทยพาณิชย์   ติดตาม รายการ Morning Wealth ทุกวัน จันทร์ – ศุกร์ เวลา 7.00...
หุ้นไทย
9 เมษายน 2024

หุ้นไทยสูงสุดในรอบ 14 วัน จับตานโยบายดอกเบี้ยกำหนดทิศทาง SET ช่วงสั้น

ดัชนี หุ้นไทย (SET) กลับมาทำจุดสูงสุดใหม่ในรอบ 14 วัน หลังจากปรับตัวขึ้นมาแตะระดับ 1,393 จุด เพิ่มขึ้นราว 17 จุด จากวันก่อนหน้า โดยได้แรงหนุนสำคัญจากสองหุ้นใหญ่คือ บมจ.เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) หรือ DELTA และ บมจ.ท่าอากาศยานไทย หรือ AOT   แรงเก็งกำไรที่เข้ามายังหุ้นไทยวันนี้ (9 เมษายน) สุนทร ทองทิพย์ ผู้อำนวยการอาวุโสฝ่ายวิเคราะห์...
กนง.
9 เมษายน 2024

เก็งผล กนง. 10 เม.ย. นี้ ‘คง’ หรือ ‘ลด’ ดอกเบี้ย แต่ละสำนักมองอย่างไร?

การประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน ( กนง. ) ในวันที่ 10 เมษายนนี้ นับเป็นอีกครั้งที่ได้รับการจับตามองอย่างมาก หลังจากในการประชุมนัดที่ผ่านมา (เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์) คณะกรรมการเสียงแตก โดย 5 ท่านลงมติให้คงดอกเบี้ย ขณะที่ 2 เสียงเห็นควรให้ลด ท่ามกลางการกดดันของรัฐบาลไทยที่ต้องการให้ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ปรับลดอัตราดอกเบี้ยหลายต่อหลายครั้ง &n...


Close Advertising