×

จิตวิทยา

20 กรกฎาคม 2017

ก้าวต่อไปอย่าได้แคร์! วิธีรับมือและเยียวยาอาการ ‘อกหัก’ จากมืออาชีพ

     เรามักได้ยินกันอยู่เสมอว่า ‘เวลาจะช่วยเยียวยาจิตใจ’ แต่ถ้าเราต้องเผชิญกับความโศกเศร้าเจ็บปวดอันเนื่องมาจากความรักและสัมพันธภาพที่มาถึงจุดสิ้นสุด การนั่งรอให้ ‘เวลา’ มาช่วยเยียวยาอย่างเดียวคงจะไม่เพียงพอแน่นอน เพราะโดยธรรมชาติแล้ว การยุติความสัมพันธ์กับคนรักนั้น ไม่ว่าความสัมพันธ์จะสั้นหรือยาวแค่ไหน ก็มักส่งผลให้เกิดความโศกเศร้าท...
14 กรกฎาคม 2017

Spotlight Effect ทฤษฎีจิตวิทยาที่ทำให้เราไม่ต้องนอยด์อีกต่อไป เมื่อเกิดเรื่องน่าอาย

     ตอนเด็กๆ ใครหลายคนอาจจะเคยใส่ชุดนักเรียนไปโรงเรียนในวันที่เพื่อนทั้งห้องใส่ชุดพละกันหมด หรืออาทิตย์ที่แล้วเดินสะดุดกลางออฟฟิศ จากนั้นก็อายเสียจนเก็บมาคิดตลอดวัน (หรือบางทีผ่านมาเป็นปีแล้ว นึกย้อนกลับไปถึงเหตุการณ์เหล่านั้นก็ยังน่าอายอยู่ดี) ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นจากทฤษฎีทางจิตวิทยาที่มีชื่อว่า ‘Spotlight Effect’ หรือสถานการณ์เมื่อเร...
27 มิถุนายน 2017

แค่ไหนเรียก ‘ติดเซ็กซ์’

     ‘เซ็กซ์’ เป็นสิ่งน่ารื่นรมย์ และมีสิ่งมีชีวิตไม่กี่ชนิดบนโลกที่มีการเสพสมกันเพื่อความเพลิดเพลิน และมนุษย์ก็เป็นหนึ่งในนั้น การมีเพศสัมพันธ์นั้นถือเป็นเรื่องธรรมชาติ และหลายคนพบว่าเพลินจนสามารถเสพติดในกามารมณ์ได้ แต่ต้องชอบแค่ไหนถึงจะเรียกว่า ‘ติดเซ็กซ์’ กัน   ติดเซ็กซ์อย่างไรถือว่าผิดปกติ      การเสพ...
22 มิถุนายน 2017

ทำไมคนที่เคยต่อต้านรถไฟความเร็วสูงสมัยรัฐบาล ‘เพื่อไทย’ จึงไม่ออกมาค้าน ‘ลุงตู่’

     ไม่ทราบว่าคุณผู้อ่านกำลังสงสัยกันไหมครับ ว่าทำไมคนที่เคยออกมาต่อต้านการสร้างรถไฟความเร็วสูงในสมัยรัฐบาลที่เเล้ว จึงไม่ออกมาต่อต้านนโยบายเดียวกันที่กำลังถูกเสนอออกมาในครั้งนี้อีกครั้ง      คุณเคยได้ยินถึงชื่อเสียงของนักจิตวิทยาที่มีชื่อว่า ลีออน เฟสติงเจอร์ (Leon Festinger) ไหมครับ      ลีออน เฟสติ...
20 มิถุนายน 2017

รู้จักวิทยาศาสตร์การตัดสินใจที่อธิบายว่า ทำไมคุณมักเลือกคุยกับคนที่แต่งตัวดีเป็นอันดับแรก?

     เคยสงสัยตัวเองไหม ทำไมเราถึงมักจะเลือกทักเพื่อนใหม่ในงานปาร์ตี้ที่แต่งกายดี ดูภูมิฐาน มากกว่าอีกคนที่แต่งตัวไม่เรียบร้อย หนวดเครารุงรัง      อย่าเพิ่งด่วนสรุปจนพานคิดว่าตัวเองเป็นพวกเหยียดชนชั้นหรือมองคนแค่รูปลักษณ์ภายนอก เพราะ แครธริน ทรงพัฒนะโยธิน ผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์ในการตัดสินใจ (Cognitive ...
14 มิถุนายน 2017

อยากเด่นและชอบทับถมคนอื่น! คู่มือเอาตัวรอดจากเจ้านายและเพื่อนร่วมงานที่เป็น ‘โรคคลั่งไคล้ตัวเอง’

     ถ้าหากคุณเป็นคนหนึ่งที่ต้องอยู่ร่วม หรือทำงานร่วมกับบุคคลที่ชอบทำตัวเป็นจุดเด่น ชอบทับถมผู้อื่น  โปรดปรานคำสรรเสริญเยินยอ มักจะแสดงความโกรธหรือความเศร้าอย่างมากเมื่อได้รับคำวิจารณ์ในแง่ลบ มีความเชื่อผิดๆ ว่าตนเองเก่งที่สุด ชอบที่จะมีอำนาจ และมักจะใช้ประโยชน์ให้ผู้อื่นทำงานให้      ดิฉันอยากให้คุณลองมองย้อ...
14 มิถุนายน 2017

ไม่สนิทอย่าติดว้าว! งานวิจัยระบุ คนไทยกด Like ตีความได้ 42 ความหมาย โจทย์ใหม่ที่แบรนด์ต้องรู้

     ถ้ายังจำกันได้ ต้นปี 2559 ที่ผ่านมา เฟซบุ๊กได้เพิ่มฟีเจอร์ปุ่มแสดงความรู้สึก (reaction) ขึ้นมาถัดจากปุ่มไลก์ (like) ด้วยกันถึง 5 แบบ คือ ปุ่มโกรธ (angry), รัก (love), เศร้า (sad), ว้าว (wow) และหัวเราะ (haha) ซึ่งเป็นอีโมติคอนที่ถูกออกแบบให้เข้าใจง่ายและเป็นสากล แต่เอาเข้าจริงๆ กลายเป็นว่าผู้ใช้งานทุกวันนี้ไม่ได้รู้สึกตรงกับสิ่ง...
13 มิถุนายน 2017

วิทยาศาสตร์ของอคติ ทำไมเราตัดสินเรื่องการเมืองหรือคุณธรรมด้วยอารมณ์มากกว่าเหตุผล

     ผมขอเริ่มบทความนี้ด้วยปัญหาตัวเลข (Math Puzzle) ที่อยู่ในรูปภาพข้างล่างนี้นะครับ กฎของปัญหานี้มีอยู่ว่า ตัวเลขในแต่ละวงกลมนั้นเกิดขึ้นได้เพราะกฎหนึ่งข้อ ซึ่งคำถามของปัญหาตัวเลขข้อนี้ก็คือ กฎที่ว่านี้คืออะไร แล้วตัวเลขของวงกลมที่มีเครื่องหมาย ? คือตัวเลขอะไรกันครับ (ป.ล. เลข 7 ที่อยู่ในวงกลมสุดท้ายไม่ได้มาจากการพิมพ์ผิดนะครับ) ...
9 มิถุนายน 2017

กรณีศึกษา #ป่ากางเกงใน ‘ชอบโชว์’ กับ ‘ชอบเปลือย’ แบบไหนโรค แบบไหนรสนิยม?

     จากกรณี ‘ป่ากางเกงใน’ ในจังหวัดมหาสารคาม สถานที่นัดพบเพื่อสำเร็จความใคร่และการมีเพศสัมพันธ์ในที่แจ้ง (Outdoor Sex) อันเป็นที่นิยมของ ‘แอคเค่อ’ หรือกลุ่มผู้ใช้ทวิตเตอร์เป็นเครื่องมือในการ ‘โชว์’ จำนวนหนึ่ง สู่กรณีของกลุ่มคนที่เรียกตัวเองว่า Naturist ที่เปลือยกายถ่ายภาพในทิวทิศน์ดีๆ วิวสวยๆ หรือทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกันลงเผยแพร่สู่โซ...


Close Advertising