×

จักรวาล

ภาพถ่าย จักรวาล
16 ตุลาคม 2024

ESA เปิดภาพจักรวาลมุมกว้าง เผยรายละเอียดดาวฤกษ์และกาแล็กซีมากกว่า 100 ล้านแห่ง

องค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA เผยภาพถ่ายมุมกว้างของจักรวาลขนาด 208,000 ล้านพิกเซล จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศ Euclid แสดงให้เห็นรายละเอียดของดาวฤกษ์และกาแล็กซีมากกว่า 100 ล้านแห่ง   ภาพถ่ายดังกล่าวรวมขึ้นจากการสำรวจมากกว่า 260 ครั้ง ในช่วงคลื่นที่ตามองเห็นและอินฟราเรด ระหว่างวันที่ 25 มีนาคม - 8 เมษายน โดยภาพชุดจากกล้อง Euclid ที่เผยแพร่ในครั้งน...
Mars Express
16 กรกฎาคม 2023

เปิดภาพโลกและดวงจันทร์ ถ่ายจากยานสำรวจบนดาวอังคาร

องค์การอวกาศยุโรป หรือ ESA เปิดภาพถ่ายโลกและดวงจันทร์จากยาน Mars Express เนื่องในโอกาสครบรอบ 20 ปีของภารกิจสำรวจดาวอังคาร   ดาเนียลา ทิร์สช์ ทีมภารกิจที่ดูแลอุปกรณ์ HRSC หรือกล้องถ่ายภาพความละเอียดสูงของยาน Mars Express เปิดเผยว่า “ภาพดังกล่าวไม่ได้มีคุณค่าในเชิงวิทยาศาสตร์มากนัก แต่เมื่อสถานการณ์อำนวยให้เราหันกล้องมายังโลกได้ เราก็อยากใ...
James Webb Space Telescope
13 กรกฎาคม 2023

ย้อนดูผลงานกล้องโทรทรรศน์เจมส์ เว็บบ์ ครบ 1 ปี มีภาพน่าทึ่งอะไรบ้าง

ย้อนกลับไปเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2022 ประธานาธิบดีโจ ไบเดน แห่งสหรัฐอเมริกา ได้เปิดเผยภาพถ่ายจากคลื่นอินฟราเรดภาพแรกจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ในระหว่างการแถลงข่าว ณ ทำเนียบขาว โดยเป็นภาพจากห้วงอวกาศที่ลึกที่สุดและคมชัดมากที่สุดเท่าที่กล้องโทรทรรศน์เคยบันทึกมาได้ ถือเป็นภาพประวัติศาสตร์ของมวลมนุษยชาติ และเป็นการเปิดตัวผลงานของเจมส์ เว็บบ์ ไ...
เอกภพ
5 กรกฎาคม 2023

นักดาราศาสตร์พบว่า เวลาในเอกภพยุคแรกเริ่มเดินช้ากว่าในปัจจุบันถึง 5 เท่า

นักดาราศาสตร์ได้สังเกตเห็นการเดินของเวลาที่เชื่องช้าในเอกภพยุคแรกเริ่ม ด้วยการศึกษาย้อนกลับไปในช่วงที่เอกภพยังมีอายุราวพันล้านปี พิสูจน์ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ว่า การขยายตัวของเอกภพได้ยืดขยายขนาดของเวลาด้วยเช่นกัน   ศ.เกไรนต์ ลูอิส จากมหาวิทยาลัยซิดนีย์ ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะวิจัย ได้เปิดเผยถึงการค้นพบในครั้งนี้ว่า เมื่...
1 กรกฎาคม 2023

สวัสดีวันเสาร์! กล้องเจมส์ เว็บบ์ เผยภาพดาวเสาร์และดวงจันทร์บริวารในย่านอินฟราเรด

คืนวันที่ 30 มิถุนายน NASA และ ESA ได้เปิดเผยภาพถ่ายของดาวเสาร์ในย่านอินฟราเรดใกล้จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ที่แสดงให้เห็นรายละเอียดของชั้นบรรยากาศดาว วงแหวน และดวงจันทร์บริวารบางดวง   ภาพดังกล่าวถูกถ่ายเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน ด้วยอุปกรณ์ NIRCam ที่ถ่ายภาพในย่านอินฟราเรดใกล้ ช่วงคลื่น 3.23 ไมครอน โดยภาพนี้จะเห็นวงแหวนมีความสว่าง...
ความโน้มถ่วงความถี่ต่ำ
30 มิถุนายน 2023

ครั้งแรก! นักดาราศาสตร์พบเสียงฮัมในเบื้องหลังของจักรวาล จากการศึกษาคลื่นความโน้มถ่วงความถี่ต่ำ

จักรวาลของเราเต็มไปด้วยเสียงฮัมก้องกังวานทั่วทุกทิศ หากเทียบทั้งจักรวาลเป็นดั่งวงดนตรีซิมโฟนี เราจะได้ยินเสียงประสานทุ้มดังก้องทั่วทั้งฮอลล์การแสดง ซึ่งนี่คือสิ่งที่นักดาราศาสตร์จากนานาประเทศได้ค้นพบ แต่เปลี่ยนจากคลื่นเสียงที่หูเราได้ยินผ่านตัวกลางอากาศ เป็นคลื่นความโน้มถ่วงที่ยืดหดกาลอวกาศแทน   อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้ทำนายการมีอยู่ของคล...
เจมส์ เว็บบ์
23 กุมภาพันธ์ 2023

เจมส์ เว็บบ์ ค้นพบกาแล็กซีเก่าแก่ขนาดใหญ่ 6 กาแล็กซี ที่อาจทำให้มนุษย์ต้องทำความเข้าใจใหม่เกี่ยวกับเอกภพในยุคแรกเริ่ม

เป็นอีกครั้งที่กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ได้ยกระดับองค์ความรู้ของมนุษย์เกี่ยวกับจักรวาลในยุคแรกเริ่ม โดยในครั้งนี้นักดาราศาสตร์ระบุว่า ข้อมูลที่ได้จากเจมส์ เว็บบ์ เผยให้เห็นวัตถุที่คาดว่าเป็นกาแล็กซีขนาดใหญ่ 6 กาแล็กซีที่มีมวลพอๆ กับกาแล็กซีทางช้างเผือกของเรา โดยถือกำเนิดขึ้นประมาณ 540-770 ล้านปี หลังจากปรากฏการณ์บิ๊กแบง (เมื่อ 1.38 หมื่นล้าน...
2 กุมภาพันธ์ 2023

นักฟิสิกส์พบวิธีการใช้คลื่นความโน้มถ่วงค้นหาจุดเริ่มต้นของกาลเวลา

เมื่อเริ่มกำเนิดเอกภพในเหตุการณ์ ‘บิ๊กแบง’ จักรวาลเริ่มมีแรงพื้นฐานทั้งสี่ จากนั้นอนุภาคมูลฐานต่างๆ ก็เริ่มก่อกำเนิดขึ้น แต่ทั้งหมดยังเต็มไปด้วยความมืดมิดจวบจนอนุภาคโฟตอนแรก หรือ ‘แสง’ กำเนิดตามมา    นั่นคือเหตุการณ์เมื่อ 13,800 ล้านปีก่อน นักฟิสิกส์ต่างพยายามศึกษาจักรวาลในช่วงเวลาของการก่อกำเนิดดังกล่าว แต่ก็ยังไม่มีเครื่องมือที่เห...
ชมคลิป: พักเรื่องบ้านเมือง คุยเรื่องที่มาของ ‘จักรวาล’ กับ QTFT - THE STANDARD Daily 24 ส.ค. 63
24 สิงหาคม 2020

ชมคลิป: พักเรื่องบ้านเมือง คุยเรื่องที่มาของ ‘จักรวาล’ กับ QTFT – THE STANDARD Daily 24 ส.ค. 63

THE STANDARD Daily ประจำวันที่ 24 สิงหาคม 2563  เวลา 19.00 น.   The Standard Daily พักเรื่องบ้านเมือง คุยเรื่องที่มาของ ‘จักรวาล’ กับ QTFT เข้าใจจักรวาล ก็เข้าใจเรา กับ รศ.ดร.บุรินทร์ กำจัดภัย วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐานและ ดร.เพชระ ภัทรกิจวานิช อาจารย์ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล   สามารถติดตาม...
9 ธันวาคม 2017

พบ ‘หลุมดำยักษ์’ ห่างโลกมากที่สุดเท่าที่เคยพบ นักวิทย์ฯ หวังช่วยไขปริศนายุคเริ่มต้นจักรวาล

นักดาราศาสตร์ตรวจพบหลุมดำยักษ์ที่มีระยะห่างไกลโลกมากที่สุดเท่าที่เคยมีบันทึกมา เล็งศึกษาพัฒนาการยุคเริ่มต้นของจักรวาล หลุมดำแห่งนี้เป็น ‘ควอซาร์’ หรือหลุมดำที่มีมวลมหาศาลล้อมรอบจานมวลรวมที่มาจากก๊าซร้อนจัด พร้อมด้วยการปลดปล่อยพลังงานและลำอนุภาคออกมาในทิศตั้งฉากด้วย จนถือเป็นวัตถุที่มีแสงสว่างอันดับต้นๆ ในเอกภพ   ข้อมูลบนวารสาร Nat...


Close Advertising
X
Close Advertising