×

ความหลากหลายทางเพศ

22 กุมภาพันธ์ 2019

เชียงใหม่ไพรด์ 2019: 10 ปี เสาร์ซาวเอ็ดรำลึก พื้นที่แห่งความเท่าเทียมสำหรับทุกคน

ปิดฉากลงไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วสำหรับงาน Chiang Mai Pride 2019 งานไพรด์ครั้งแรกในรอบ 10 ปีของจังหวัดเชียงใหม่ นับตั้งแต่งานเกย์ไพรด์เมื่อวันเสาร์ที่ 21 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ที่ถูกต่อต้านจากกลุ่มการเมืองท้องถิ่นในขณะนั้น จนต้องยุติการจัดงานในที่สุด   #เสาร์ซาวเอ็ด ได้กลายเป็นจุดเริ่มต้นและแรงผลักดันให้นักเคลื่อนไหวด้านสิทธิฯ ในไทย กำห...
22 มกราคม 2019

LGBT กับคำว่าครูในสังคมไทย ผ่านมุมมอง 5 พรรคการเมืองที่อาสามาเปลี่ยนแปลงประเทศ

    โลกโซเชียลในรอบ 2-3 วันที่ผ่านมามีประเด็นร้อนแรงเกี่ยวกับกรณีการเลือกปฏิบัติเพราะเหตุแห่งเพศอีกครั้ง   เมื่อนิสิตคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ออกมาโพสต์ข้อความร้องเรียน ระบุว่าถูกอาจารย์พิเศษบังคับให้แต่งกายให้ตรงกับเพศกำเนิด รวมถึงได้พูดว่า “เป็นกะเทยก็ไม่ต่างอะไรกับคนบ้า แค่สังคมยอมรับมากกว่า การที่คณะครุศ...
15 มกราคม 2019

วิพากษ์ร่าง พ.ร.บ. คู่ชีวิต ที่ให้สิทธิไม่ร้อยเปอร์เซ็นต์ ผ่านครูกฎหมาย ไพโรจน์ กัมพูสิริ

หลังจากสนามการเมืองเปิด เราได้เห็นหลากเวทีสัมมนาเชิญพรรคการเมืองไปแสดงทรรศนะต่อประเด็นหลากหลายที่กลุ่มเคลื่อนไหวทางสังคมให้ความสำคัญ เช่นเดียวกับเวทีของกลุ่มรณรงค์ด้านความหลากหลายทางเพศ โดยเฉพาะเรื่องร้อนๆ อย่าง ร่าง พ.ร.บ. คู่ชีวิต ที่จะเป็นหมุดหมายเริ่มต้นในการก่อหลักประกันความเสมอภาค ความเท่าเทียมของกลุ่มหลากหลายทางเพศให้เท่ากับคู่สมรสหญิงชาย ...
15 มกราคม 2019

รัฐบาลเชชเนียในรัสเซียกวาดล้างกลุ่ม LGBTQ รอบใหม่ ตาย 2 ถูกจับอีก 40 คน

รัสเซียถือเป็นอีกหนึ่งประเทศในโลกที่มักจะมีคำเตือนสำหรับกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศที่ต้องการจะเดินทางไปเยือน เพราะอาจส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยขณะเดินทาง ล่าสุดมีรายงานว่า รัฐบาลเชชเนีย หนึ่งในรัฐทางตอนใต้สุดของรัสเซียตะวันตกที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ได้กวาดล้างกลุ่ม LGBTQ และผู้เข้าข่ายต้องสงสัยรอบใหม่เมื่อไม่นานมานี้ เป็นเหตุให้มีผู้เสี...
14 มกราคม 2019

ผลสำรวจเผย ชาวญี่ปุ่น 1 ใน 11 คนยอมรับว่าตนเองเป็น LGBTQ การรับรู้ต่อความหลากหลายทางเพศในสังคมเพิ่มมากขึ้น

ผลสำรวจความคิดเห็นของพลเมืองญี่ปุ่นต่อประเด็นความหลากหลายทางเพศในสังคม ที่จัดทำโดยบริษัทยักษ์ใหญ่ด้านโฆษณาอย่าง Dentsu Inc. พบว่า การรับรู้เกี่ยวกับความหลากหลายทางเพศในสังคมญี่ปุ่นมีเพิ่มมากขึ้นราว 1.3% เมื่อเทียบกับการสำรวจครั้งก่อนหน้าเมื่อปี 2015 ที่ผ่านมา โดย 2 ใน 3 ของผู้แสดงความคิดเห็นรู้ว่า LGBTQ คืออะไร   จากผู้ตอบแบบสอบถามออนไลน...
11 มกราคม 2019

กองทัพอินเดียยังรับไม่ได้! แม้ศาลสูงจะลดโทษและยกเลิกให้การรักร่วมเพศเป็นความผิดทางอาญา

ถึงแม้ว่าช่วงต้นเดือนกันยายนที่ผ่านมา ศาลสูงของอินเดียจะพิจารณาให้การมีเพศสัมพันธ์ระหว่างคนเพศเดียวกันไม่เป็นความผิดทางอาญาอีกต่อไป โดยระบุว่ามาตรา 377 ที่ระบุโทษทางกฎหมายเอาไว้นั้นเป็นกฎหมายที่เลือกปฏิบัติต่อความหลากหลายทางเพศในอินเดียนับตั้งแต่ช่วงที่ยังอยู่ภายใต้อาณานิคมของสหราชอาณาจักร แต่กองทัพอินเดียกลับไม่เห็นด้วยและยังจะสนับสนุนกฎหมายลักษณะ...
28 ธันวาคม 2018

12 ประเด็นร้อนระดับโลกที่ต้องจับตาในปี 2019 กับ ศ.ดร.สุรชาติ บำรุงสุข

ตลอดปี 2018 ที่ผ่านมา เกิดเหตุการณ์สำคัญต่างๆ มากมายในเวทีโลก ไม่ว่าจะเป็นการจัดซัมมิทระหว่างผู้นำสูงสุดของเกาหลีเหนืออย่างคิมจองอึนกับประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ของสหรัฐฯ ภาพที่ทั้งสองคนยืนจับมือและนั่งร่วมโต๊ะประชุมเดียวกันที่ใครหลายคนไม่เคยคาดคิดว่าจะได้เห็นก็เกิดขึ้น การกลับมาต่อสู้กันอีกครั้งในสมรภูมิสงครามการค้าของรัฐมหาอำนาจ วิกฤตผู้ลี้ภัย ปั...
22 ธันวาคม 2018

คอสตาริกาออกกฎหมายรับรองสิทธิกลุ่ม LGBTQ เพิ่มเติม ก่อนอนุญาตให้คู่รักเพศเดียวกันสมรสกันได้ภายใน พ.ค. 2020

เมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา ประธานาธิบดีการ์ลอส อัลบาราโด ของคอสตาริกา ได้ลงนามเห็นชอบกฎหมายรับรองสิทธิกลุ่ม LGBTQ เพิ่มเติม โดยคู่รักกลุ่มนี้จะได้รับเบี้ยค่าเช่าบ้าน ในกรณีที่เป็นผู้มีรายได้น้อยเหมือนกับครอบครัวอื่นๆ พร้อมทั้งรับรองสถานะของคู่รัก LGBTQ ที่ต่างเชื้อชาติ หรืออยู่ในสถานะผู้อพยพ หรืออื่นๆ อีกด้วย   ช่วงต้นปี 2018 ที่ผ่านมา คอสตา...
30 พฤศจิกายน 2018

10 พรรคการเมือง กับนโยบายความหลากหลายทางเพศ

เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายนที่ผ่านมา ในงาน 10 ปีวันความหลากหลายทางเพศของไทย ซึ่งจัดขึ้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีการเปิดเวทีให้พรรคการเมืองมารับฟัง ประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในกฎหมายสมรส และให้แต่ละพรรคแสดงวิสัยทัศน์ด้วย   และนี่คือสรุปใจความสำคัญจากพรรคการเมืองที่มีต่อกฎหมายดังกล่าว รวมทั้งแนวทางของพรรคต่อความหลากหลายทางเพศในไทย  ...
30 พฤศจิกายน 2018

ครบรอบ 10 ปี การเดินทางต่อสู้เพื่อความหลากหลายทางเพศ LGBT ของไทย

เมื่อ 29 พฤศจิกายน 2006 เป็นวันที่มีการยื่นฟ้องต่อศาลปกครองให้พิจารณาถอนข้อความที่ระบุว่า ‘เป็นโรคจิตถาวร’ ในใบสำคัญต่างๆ ของการตรวจเลือกทหารกองเกิน ซึ่งถือเป็นการละเมิดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และทำให้เสื่อมเสียหรืออับอาย จนในที่สุดเมื่อปี 2011 ศาลปกครองพิพากษาให้ถอนคำดังกล่าวออกจากใบสำคัญ และแก้ไขเป็น ‘ภาวะเพศสภาพไม่ตรงกับเพศกำเนิด’ กลุ่ม LGBTQI ใ...


Close Advertising
X