×

กล้องโทรทรรศน์อวกาศ เจมส์ เว็บบ์

28 สิงหาคม 2024

กล้องเจมส์ เว็บบ์ เผยภาพดาวฤกษ์เกิดใหม่ในเนบิวลา NGC 1333 สุดคมชัด

กล้องเจมส์ เว็บบ์ เผยภาพสุดคมชัดของเนบิวลา NGC 1333 แสดงให้เห็นดาวฤกษ์และดาวแคระน้ำตาลที่กำลังก่อตัว   เนบิวลาดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของเมฆโมเลกุลเพอร์ซิอัส (Perseus Molecular Cloud) ที่อยู่ห่างจากโลกประมาณ 960 ปีแสง และเป็นบริเวณที่กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลบันทึกภาพไว้ในโอกาสฉลองครบ 33 ปีของภารกิจ เมื่อเดือนเมษายน ปี 2023   อย...
26 กรกฎาคม 2024

กล้องเจมส์ เว็บบ์ เผยภาพถ่ายดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ Epsilon Indi Ab อยู่ห่างจากโลก 12 ปีแสง

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ถ่ายภาพดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ Epsilon Indi Ab ยืนยันการพบดาวเคราะห์ที่ห่างโลกไป 12 ปีแสงเป็นครั้งแรก   เอลิซาเบธ แมทธิวส์ หัวหน้าคณะดาราศาสตร์ในการค้นพบครั้งนี้ จาก Max Planck Institute for Astronomy เปิดเผยว่า “การค้นพบครั้งนี้น่าตื่นเต้นมาก เพราะดาวเคราะห์ดวงนี้มีความคล้ายคลึงกับดาวพฤหัสบดีมาก แม้จะมีมว...
James Webb Space Telescope
1 มิถุนายน 2024

กล้องเจมส์ เว็บบ์ พบกาแล็กซีแห่งใหม่ที่อยู่ไกลจากโลกที่สุด

นักดาราศาสตร์พบกาแล็กซีไกลโลกที่สุดเท่าที่เคยค้นพบมา จากภาพถ่ายอวกาศห้วงลึกของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   กาแล็กซีดังกล่าวมีชื่อว่า JADES-GS-z14-0 มีค่าการเลื่อนไปทางแดง หรือค่า Redshift (z) ประมาณ 14.32 เท่ากับแสงที่เราเห็นจากดาราจักรแห่งนี้ ใช้เวลานานกว่า 13,500 ล้านปีเพื่อเดินทางมาถึงโลก ทำลายสถิติเดิมของกาแล็กซี JADES-GS-z13-0 ...
1 กุมภาพันธ์ 2024

นักวิจัยไทยพบ 13 กาแล็กซีในยุคแรกเริ่มของเอกภพ จากข้อมูลกล้องเจมส์ เว็บบ์

ดร.ณิชา ลีโทชวลิต นักวิจัยของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ หรือ NARIT ได้นำทีมคณะนักดาราศาสตร์นานาประเทศตรวจพบกาแล็กซีมวลน้อยเพิ่มอีก 13 แห่งที่มีอยู่ตั้งแต่เอกภพ มีอายุเพียง 550-700 ล้านปี   งานวิจัยดังกล่าวได้ศึกษาข้อมูลจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ภายใต้โครงการวิจัย GLASS-JWST-ERS เพื่อตรวจหากาแล็กซียุคแรกเริ่มของเอกภพ ที่กำเนิด...
14 มกราคม 2024

นักดาราศาสตร์พบสัญญาณของออโรราบนดาวแคระน้ำตาลที่โคจรโดดเดี่ยวในเอกภพ

นักดาราศาสตร์อาจพบการเกิดแสงออโรราบนดาวแคระน้ำตาล (Brown Dwarf) ที่โคจรอย่างโดดเดี่ยวในเอกภพ จากข้อมูลล่าสุดของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   บนดาวแคระน้ำตาล W1935 ที่มีขนาดและมวลใหญ่กว่าดาวพฤหัสบดี แต่ยังไม่มากพอที่จะทำให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันที่ใจกลาง นักดาราศาสตร์ได้พบการแผ่รังสีในย่านอินฟราเรดจากมีเทน เกิดขึ้นในบรรยากาศชั้...
กล้อง เจมส์ เว็บบ์ พบ คริสตัล ควอตซ์ ในชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ WASP-17b
18 ตุลาคม 2023

กล้องเจมส์ เว็บบ์ พบควอตซ์ในชั้นบรรยากาศดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะเป็นครั้งแรก

นักดาราศาสตร์ตรวจพบอนุภาคของคริสตัลควอตซ์ ในชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ WASP-17b ผ่านการใช้อุปกรณ์บนกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์   แม้แร่ควอตซ์อาจถูกพบได้โดยทั่วไปบนโลกเรา และดาวเคราะห์หินหรือดวงจันทร์ในระบบสุริยะ แต่นี่ถือเป็นครั้งแรกที่มีการตรวจพบอนุภาคแร่ซิลิกาบนบรรยากาศดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ โดยใช้การแยกสเปกตรัมผ่านอุป...
10 สิงหาคม 2023

กล้องเจมส์ เว็บบ์ ศึกษาดาวฤกษ์ไกลจากโลกที่สุด เผยลักษณะและรายละเอียดครั้งแรก

NASA ได้ใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ศึกษา ‘Earendel’ ดาวฤกษ์ไกลที่สุดที่เคยตรวจพบ พร้อมเผยให้เห็นว่าเป็นดาวฤกษ์แบบ B-type ที่ร้อนและสว่างกว่าดวงอาทิตย์ รวมทั้งพบความเป็นไปได้ที่อาจมีดาวฤกษ์คู่หูอีกดวง   Earendel ที่แปลว่าดาวรุ่งอรุณ หรือ WHL0137-LS ถูกค้นพบในปี 2022 ด้วยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ทำลายสถิติเป็นดาวฤกษ์ยุคแรกสุด และ...
James Webb Space Telescope
13 กรกฎาคม 2023

ย้อนดูผลงานกล้องโทรทรรศน์เจมส์ เว็บบ์ ครบ 1 ปี มีภาพน่าทึ่งอะไรบ้าง

ย้อนกลับไปเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2022 ประธานาธิบดีโจ ไบเดน แห่งสหรัฐอเมริกา ได้เปิดเผยภาพถ่ายจากคลื่นอินฟราเรดภาพแรกจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ในระหว่างการแถลงข่าว ณ ทำเนียบขาว โดยเป็นภาพจากห้วงอวกาศที่ลึกที่สุดและคมชัดมากที่สุดเท่าที่กล้องโทรทรรศน์เคยบันทึกมาได้ ถือเป็นภาพประวัติศาสตร์ของมวลมนุษยชาติ และเป็นการเปิดตัวผลงานของเจมส์ เว็บบ์ ไ...
3 กุมภาพันธ์ 2023

เจมส์ เว็บบ์ ปล่อยภาพกาแล็กซีก้นหอยท่ามกลางหมู่ดาว เผยรายละเอียดคมชัดชวนตะลึง

NASA ได้ปล่อยภาพจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ โดยเป็นภาพของกาแล็กซีก้นหอยขนาดใหญ่ที่รายล้อมไปด้วยหมู่กาแล็กซีอื่นๆ และดวงดาวอีกมากมาย เผยให้เห็นถึงรายละเอียดสวยงามอันน่าทึ่ง   กาแล็กซีก้นหอยที่ใหญ่สุดในภาพนี้มีชื่อว่า LEDA 2046648 โดยภาพนี้ถ่ายด้วยอุปกรณ์ Near Infrared Camera (NIRCam) ของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ขณะที่กำลังสั...
27 ตุลาคม 2022

เจมส์ เว็บบ์ ปล่อยภาพ ‘กาแล็กซีชนกัน’ ก่อกำเนิดดาวฤกษ์ใหม่เร็วกว่าทางช้างเผือก 20 เท่า

เมื่อวันอังคารที่ผ่านมา (25 ตุลาคม) กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ ได้ปล่อยภาพของ IC 1623 ซึ่งเป็นสองกาแล็กซีที่กำลังชนกัน โดยอยู่ห่างจากโลกของเราออกไปราว 270 ล้านปีแสงในกลุ่มดาวซีตัส (กลุ่มดาววาฬ)   การหลอมรวมกันของดาราจักรทั้งสองนี้ ได้ก่อให้เกิดดาวฤกษ์ใหม่จำนวนมากอย่างรวดเร็ว จากปฏิกิริยาที่เรียกว่า Starburst โดยอัตราการเกิดใหม่ของดว...


Close Advertising
X