×

โควิด-19 สายพันธุ์เดลตา

นพ.ยง โพสต์ ‘โอมิครอน’ ใช้เวลาเพียง 1 เดือนระบาดทั่วไทย
18 มกราคม 2022

นพ.ยง โพสต์ ‘โอมิครอน’ ใช้เวลาเพียง 1 เดือนระบาดทั่วไทย เชื่อภายในเดือนนี้จะเข้ามาแทน ‘เดลตา’ เต็มตัว

วันนี้ (18 มกราคม) ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์ภาพและข้อความผ่านเฟซบุ๊ก ‘Yong Poovorawan’ ในประเด็นโควิดสายพันธุ์โอมิครอนกำลังเข้ามาแทนที่สายพันธุ์เดลตา โดยระบุว่า   “ข้อมูลการศึกษาวิจัยของศูนย์ที่เราทำอยู่ ในการจำแนกสายพันธุ์ตั้งแต่ต้น...
Omicron
7 มกราคม 2022

WHO ชี้โอมิครอนอาจก่อให้เกิดอาการป่วยรุนแรงในกลุ่มเด็กและผู้สูงอายุได้น้อยกว่าเดลตา แต่ไม่ควรจัดอยู่ในประเภทไม่รุนแรง

ดร.ทีโดรส อัดฮานอม กีบรีเยซุส ผู้อำนวยการองค์การอนามัยโลก (WHO) แถลงสรุปสถานการณ์โควิดที่สำนักงานใหญ่ในนครเจนีวาของสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อวานนี้ (6 มกราคม) โดยชี้ว่า การระบาดที่มากขึ้นของโควิดสายพันธุ์โอมิครอนดูเหมือนจะก่อให้เกิดผู้ติดเชื้อที่มีอาการป่วยหนักน้อยกว่า เมื่อเทียบกับโควิดสายพันธุ์เดลตา แต่ไม่ควรจัดให้โอมิครอนอยู่ในประเภทไวรัสที่ ‘ไม่รุนแร...
โอไมครอน
5 มกราคม 2022

ผลวิจัยเบื้องต้นอธิบาย ทำไม ‘โอไมครอน’ ถึงรุนแรงน้อยกว่าโควิดสายพันธุ์อื่น?

บรรดานักวิทยาศาสตร์ยังคงเดินหน้าไขข้อสงสัยเกี่ยวกับโอไมครอนว่า เหตุใดมันจึงรุนแรงน้อยกว่า แต่แพร่เชื้อง่ายกว่า เมื่อเทียบกับเชื้อโควิดสายพันธุ์อื่นๆ   ผลการศึกษาใหม่ในสัตว์ทดลองและเนื้อเยื่อของมนุษย์โดยทีมวิจัยจากที่ต่างๆ ให้ข้อสรุปที่ตรงกันข้อหนึ่ง นั่นคือ โอไมครอนทำให้ปอดเสียหายน้อยกว่าเมื่อเทียบกับไวรัสโควิดสายพันธุ์ก่อนๆ และนั่นเป็นส...
โอไมครอน-เดลตา
30 ธันวาคม 2021

อนามัยโลกหวั่น ‘สึนามิ’ โอไมครอน-เดลตา ย้ำอย่าเพิ่งด่วนสรุปสายพันธุ์ใหม่ไม่อันตราย

ดร.ทีโดรส อัดฮานอม กีบรีเยซุส ผู้อำนวยการใหญ่องค์การอนามัยโลก (WHO) ออกมาแสดงความวิตกกังวลเกี่ยวกับสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิดในปัจจุบันว่า ทั้งสองสายพันธุ์ที่พบคือ เดลตาและโอไมครอน จะทำให้มีผู้ติดเชื้อทั่วโลกเพิ่มสูงขึ้นในวงกว้างประหนึ่งคลื่นยักษ์สึนามิ แต่โดยส่วนตัวก็หวังว่านานาประเทศทั่วโลกจะเร่งวางแผนรับมือ เพื่อให้สถานการณ์ที่เลวร้ายที่สุดก...
NOW & NEXT 2022
27 ธันวาคม 2021

ชมคลิป: เปิดฉากทัศน์ โอไมครอน ระบาดครั้งสุดท้าย หรือจุดเริ่มต้นวิกฤตใหม่ I NOW & NEXT 2022

พบรายการพิเศษ NOW & NEXT 2021 มองบทเรียนในปีแห่งความสูญเสียจากการระบาดของโควิดสายพันธุ์เดลตาสู่สายพันธุ์โอไมครอน จะเป็นการระบาดครั้งสุดท้ายหรือไม่ หรือจะกลายเป็นวิกฤตที่รอเกิดซ้ำ   ร่วมพูดคุยกับ ศ.นพ.มานพ พิทักษ์ภากร หัวหน้าศูนย์วิจัยการแพทย์แม่นยำ คณะ​แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล   ดำเนินรายการโดย อ๊อฟ-ชัยนนท์...
COVID
23 ธันวาคม 2021

งานวิจัยแอฟริกาใต้ชี้ความหวังรับมือโอไมครอน หลังพบผู้ติดเชื้อมีโอกาสป่วยหนักจนต้องเข้าโรงพยาบาลน้อยกว่าเดลตาค่อนข้างมาก

สถาบันโรคติดต่อแห่งชาติ (National Institute for Communicable Diseases: NICD) ของแอฟริกาใต้ เปิดเผยผลการศึกษาวิจัยล่าสุดที่ชี้ให้เห็นความหวังในการรับมือสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อโควิดสายพันธุ์โอไมครอน หลังพบว่าผู้ติดเชื้อโอไมครอนนั้นมีโอกาสป่วยหนักจนต้องเข้าโรงพยาบาลน้อยกว่าสายพันธุ์เดลตาค่อนข้างมาก   โดยงานวิจัยฉบับนี้ซึ่งยังไม่ผ่านการตร...
เชื้อไวรัสโคโรนา
23 ธันวาคม 2021

งานศึกษาในสกอตแลนด์-แอฟริกาใต้ชี้ ความเสี่ยงเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลจากเชื้อโอไมครอนต่ำกว่าเชื้อเดลตามาก

วานนี้ (22 ธันวาคม) งานศึกษาในสกอตแลนด์และแอฟริกาใต้ชี้ ความเสี่ยงเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลจากเชื้อโอไมครอนต่ำกว่าเชื้อเดลตามาก โดยงานศึกษาในสกอตแลนด์พบว่า ผู้ที่ติดเชื้อโอไมครอนคิดเป็นราว 2 ใน 3 ของผู้ที่มีความเสี่ยงต่ำที่จะเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลภายหลังจากการติดเชื้อ แม้จะดูเหมือนว่าเชื้อโอไมครอนจะมีแนวโน้มสามารถแพร่กระจายเชื้อได้ดีกว่าเชื้อเดลตาถึ...
16 ธันวาคม 2021

รู้จัก Twin Epidemic เมื่อ ‘โอไมครอน’ ระบาดซ้อนกับ ‘เดลตา’

ก่อนหน้านี้คำว่า ‘Twindemic’ จะหมายถึงการระบาดของ ‘ไข้หวัดใหญ่’ ที่แทรกซ้อนการระบาดของ ‘โควิด’ ขึ้นมาอีกโรคหนึ่งในฤดูหนาวที่ไข้หวัดใหญ่เคยระบาดอยู่เดิม แต่ในอนาคตคำนี้อาจถูกนำมาใช้เรียกการระบาดของโรคโควิดจาก 2 สายพันธุ์คือ ‘โอไมครอน’ ที่แทรกซ้อน ‘เดลตา’ เพราะคุณสมบัติที่สามารถหลบหลีกภูมิคุ้มกันได้มากขึ้น ทำให้เกิดการติดเชื้อซ้ำ และระบาดพร้อมกันได้ ...
เชื้อโอไมครอน
16 ธันวาคม 2021

งานศึกษาชี้ เชื้อโอไมครอนเพิ่มจำนวนเร็วกว่าเดลตา 70 เท่าในเนื้อเยื่อหลอดลม แต่โตช้าลง 10 เท่าในเนื้อเยื่อปอด

งานศึกษาในห้องแล็บจากมหาวิทยาลัยฮ่องกงพบว่า เชื้อโควิดสายพันธุ์โอไมครอนเพิ่มจำนวนเร็วกว่าสายพันธุ์ดั้งเดิมและเดลตาราว 70 เท่าในตัวอย่างเนื้อเยื่อจากหลอดลม ซึ่งเป็นท่อหลักจากหลอดลมสู่ปอด ซึ่งสามารถอธิบายถึงการที่ไวรัสสามารถแพร่เชื้อได้เร็วขึ้นเมื่อเทียบกับสายพันธุ์ก่อนๆ   นอกจากนี้งานศึกษายังพบว่า เชื้อสายพันธุ์ใหม่นี้เพิ่มจำนวนช้าลง 10 เ...
แอนโทนี เฟาซี
8 ธันวาคม 2021

หมอใหญ่สหรัฐฯ ระบุข้อบ่งชี้เบื้องต้น ‘โอไมครอนไม่ร้ายแรงกว่าเดลตา’

ดร.แอนโทนี เฟาชี ผู้อำนวยการสถาบันโรคภูมิแพ้และโรคติดเชื้อแห่งชาติของสหรัฐฯ และหัวหน้าคณะที่ปรึกษาทางการแพทย์ของประธานาธิบดีโจ ไบเดน ให้สัมภาษณ์สำนักข่าว AFP วานนี้ (7 ธันวาคม) ระบุข้อบ่งชี้ในเบื้องต้น แสดงให้เห็นว่าเชื้อโควิดสายพันธุ์โอไมครอนนั้นไม่ได้ร้ายแรงไปกว่าสายพันธุ์ก่อนหน้า โดยเฉพาะเดลตา และเป็นไปได้ว่าจะส่งผลให้ผู้ติดเชื้อมีอาการป่วยที่เบ...


Close Advertising
X