×

ภาวะโลกรวน

นักวิทย์ไทยคาดอาจเกิด ปะการังฟอกขาว ช่วงเมษายนถึงกรกฎาคมนี้
7 มีนาคม 2024

ทะเลระอุ นักวิทย์ไทยคาดอาจเกิดปะการังฟอกขาวช่วงเมษายนถึงกรกฎาคมนี้

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.) แจ้งข่าวเกี่ยวกับสถานการณ์ปะการังฟอกขาวในประเทศไทย โดยคาดการณ์ว่าอุณหภูมิน้ำทะเลที่สูงขึ้นจากปัจจัยต่างๆ รวมถึงภาวะโลกรวน อาจทำให้เกิดเหตุปะการังฟอกขาวได้ในปีนี้   กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง โดยสถาบันวิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (สวพ.) ได้ติดตามการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิน้ำทะเลมาอย่างต่อเนื่อง ภายใต้โคร...
15 กุมภาพันธ์ 2024

หมีขั้วโลกเสี่ยงอดตาย เหตุเวลาที่น้ำแข็งในอาร์กติกละลายยาวนานกว่าเดิม

หมีขั้วโลกในเมืองฮัดสันเบย์ของแคนาดาเสี่ยงที่จะอดอาหารตาย หลังภาวะโลกรวนทำให้ระยะเวลาที่น้ำแข็งในมหาสมุทรอาร์กติกละลายนั้นยาวนานกว่าเดิม แม้พวกหมีจะพยายามปรับตัวมาหาอาหารบนพื้นดินแล้วก็ตาม   ต้องอธิบายแบบนี้ว่า ปกติแล้วในช่วงเดือนที่อากาศหนาวจัด หมีขั้วโลกจะใช้แผ่นน้ำแข็งที่ลอยอยู่ในมหาสมุทรอาร์กติกออกล่าหาอาหาร เช่น แมวน้ำวงแหวน (Ringed...
24 มกราคม 2024

วิกฤตนิวเคลียร์-AI-โลกรวน ทำนาฬิกาวันสิ้นโลกอยู่ใกล้เส้นตายมากสุดในประวัติศาสตร์

วานนี้ (23 มกราคม) กลุ่มนักวิทยาศาสตร์ปรมาณูออกแถลงการณ์ว่า พวกเขายังคงระดับของเข็มนาฬิกาวันสิ้นโลก (Doomsday Clock) ไว้ในจุดที่เข้าใกล้เส้นตายมากที่สุดในประวัติศาสตร์ โดยสาเหตุหลักนั้นมาจากความเสี่ยงด้านนิวเคลียร์ในหลายสมรภูมิรบ รวมถึงสงครามระหว่างรัสเซีย-ยูเครน และสงครามระหว่างอิสราเอล-ฮามาส ประกอบกับสถานการณ์โลกรวนที่ย่ำแย่ลงเรื่อยๆ และความเสี่ย...
กรีนแลนด์
18 มกราคม 2024

ทุกๆ 1 ชั่วโมง น้ำแข็งกรีนแลนด์จะละลายตัว 30 ล้านตัน ผลพวงจากโลกรวนที่น่าวิตก

ผลการวิจัยล่าสุดชี้ว่า น้ำแข็งกรีนแลนด์ละลายตัวเฉลี่ยถึง 30 ล้านตันในทุกๆ 1 ชั่วโมง สะท้อนให้เห็นว่า วิกฤตการณ์โลกรวนนับวันจะยิ่งสร้างผลกระทบที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ   สำหรับการศึกษานี้ นักวิทยาศาสตร์ได้วิเคราะห์ภาพถ่ายจากดาวเทียม เพื่อระบุตำแหน่งสิ้นสุดของธารน้ำแข็งหลายแห่งของกรีนแลนด์ทุกเดือน นับตั้งแต่ปี 1985-2022 ซึ่งผลออกมาว่า...
1 มกราคม 2024

ชมคลิป: 2023 ปีโลกเดือด โลกต้องเผชิญอะไร? | KEY MESSAGES #112

ผลกระทบจากอุณหภูมิโลกที่ร้อนขึ้น 1.1 องศาเซลเซียส ทำให้ภาวะโลกร้อนยกระดับไปสู่ภาวะโลกเดือดแทน จนสร้างความแปรปรวนให้กับหลายประเทศ เช่น ในแคลิฟอร์เนียที่เผชิญกับภาวะแล้งที่สุดในรอบพันปี ซ้ำยังเจอน้ำท่วมหนักครั้งประวัติศาสตร์   ไม่เพียงแค่มนุษย์ที่ต้องเผชิญกับชะตากรรมที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงนี้ แต่สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ก็กำลังทยอยล้มตายเช่นกัน โลกกำล...
28 ธันวาคม 2023

‘สติ’ และ ‘พลัง’ ก้าวสู่โลก 2024

ถ้าให้สรุปปี 2023 ที่กำลังจะผ่านพ้นไป ปีนี้ของคุณผู้ชม THE STANDARD เป็นอย่างไรบ้างครับ   ดอกเบี้ยสูง เงินเฟ้อดื้อ หนี้ท่วม เศรษฐกิจโตช้า หุ้นไทยร่วงหนัก การเมืองพลิกผัน วิกฤตศรัทธาความยุติธรรม คนรุ่นใหม่สิ้นหวัง อิสราเอล-ฮามาส สงครามขัดแย้งที่ช็อกคนทั้งโลก ปัญญาประดิษฐ์ที่ไม่ได้จบแค่โดนแย่งงาน แต่กำลังทิ้งใครบางคนไว้ข้างหลัง จา...
19 ธันวาคม 2023

ชมคลิป: ย้อนดู 5 ภัยพิบัติใหญ่จากภาวะโลกรวนปี 2023 | NOW & NEXT 2024

‘สิ้นยุคโลกร้อนเข้าสู่โลกเดือด’   ปี 2023 เป็นปีที่โลกได้เป็นสักขีพยานถึงภาพความเลวร้ายของภัยพิบัติใหญ่ อันเกิดจากปัญหาสภาพอากาศแปรปรวนที่มีต้นตอมาจากภาวะโลกรวน ซึ่งนับวันจะยิ่งฉายภาพให้เราเห็นถึงความอันตรายที่ถึงขั้นคุกคามชีวิตมนุษย์มากขึ้นทุกขณะ   THE STANDARD ขอชวนย้อนดู 5 ภัยพิบัติใหญ่ในช่วงปีที่ผ่านมา เพื่อให้เหตุการณ์เหล...
26 พฤศจิกายน 2023

ชมคลิป: โลกรวนจ่อทำเศรษฐกิจ APAC พัง ถ้าเราไม่ลงมือทำอะไรเลย | Economic Forum 2023

โลกรวนป่วนเศรษฐกิจ ผลการศึกษา Monitor Deloitte ชี้ ปัญหาโลกรวนจ่อสร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจของเอเชีย-แปซิฟิก 96 ล้านล้านดอลลาร์ภายในปี 2070 หากเราไม่ทำอะไรเลย     📌อัปเดตเทรนด์โลกกว่า 20+ Sessions ซื้อบัตรชมย้อนหลังได้ที่ https://bit.ly/TSEF2023ED    ✅ ราคาพิเศษ! 2,500 บาท ถึง 31 ธันวาคม 2566 เท่านั้น ...
นาฬิกาโลกร้อน
10 ตุลาคม 2023

นาฬิกาโลกร้อนชี้ มนุษยชาติมีเวลาอีก ‘ไม่ถึง 6 ปี’ ก่อนเผชิญวิกฤตโลกรวนที่ไม่อาจย้อนกลับ

โลกมีเวลาอีกไม่ถึง 6 ปี ในการป้องกันผลกระทบที่ไม่อาจแก้ไขได้จากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ   Climate Clock หรือนาฬิกาสภาพอากาศ เปิดตัวในเดือนกันยายน 2020 มีความสูง 4 ชั้น เหนือย่าน Union Square ของนิวยอร์กในย่านใจกลางเมืองแมนฮัตตัน โดยเกิดจากการสร้างสรรค์ของกลุ่มศิลปิน นักเขียน และนักเคลื่อนไหวชาวอเมริกัน ได้แก่ กัน โกแลน (Gan Golan),...
ธารน้ำแข็ง
30 กันยายน 2023

ปริมาณธารน้ำแข็งในสวิตเซอร์แลนด์ลดลงถึง 10% ในเวลาเพียงแค่ 2 ปี

นักวิทยาศาสตร์ระบุว่า วิกฤตโลกรวนซึ่งเป็นผลพวงจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลของมนุษย์นั้นเป็นสาเหตุที่ทำให้ฤดูร้อนร้อนผิดปกติ ขณะที่ฤดูหนาวก็มีปริมาณหิมะตกต่ำลงกว่าเดิมมาก ซึ่งสถานการณ์ดังกล่าวเร่งให้ธารน้ำแข็งในสวิตเซอร์แลนด์ละลายตัวเร็วขึ้นกว่าเดิม โดยปริมาณธารน้ำแข็งในสวิตเซอร์แลนด์นั้นลดลงถึง 10% ในเวลาเพียงแค่ 2 ปี   ผลการวิเคราะห์จา...


Close Advertising
X
Close Advertising