×

นักวิทยาศาสตร์

ฟอสซิลยุง
7 ธันวาคม 2023

นักวิทย์เผย ฟอสซิลเก่า 130 ล้านปี บ่งชี้ ‘ยุงตัวผู้’ อาจดูดเลือดในสมัยโบราณ

ทีมนักวิทยาศาสตร์นานาชาติระบุว่า ฟอสซิลที่มีอายุเก่าแก่ประมาณ 130 ล้านปี บ่งชี้ว่ายุงตัวผู้น่าจะดูดเลือดกินเป็นอาหารในสมัยโบราณ   ปัจจุบันมีเพียงยุงตัวเมียเท่านั้นที่กินเลือดเป็นอาหาร โดยใช้ส่วนปากที่มีลักษณะแบบเจาะดูดกินเลือดของมนุษย์และสัตว์อื่นๆ ซึ่งนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า การกินเลือดของแมลง (Insect Hematophagy) วิวัฒนาการมาจากส่วนปากแ...
29 พฤศจิกายน 2023

ชมคลิป: ทำไมการเพิ่มสัดส่วน นักวิทยาศาสตร์หญิง ถึงเป็นเรื่องสำคัญ? | KEY MESSAGES #108

ในช่วงไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมา เราได้เห็นการเปลี่ยนแปลงที่น่าทึ่งเกี่ยวกับบทบาทของผู้หญิง   แม้จะเป็นเรื่องน่ายินดี แต่วงการที่ว่ากันว่า มีความสำคัญต่ออนาคตของมวลมนุษยชาติอย่างวงการวิทยาศาสตร์นั้น กลับยังคงมีสัดส่วนผู้หญิงน้อยอยู่ และก่อให้เกิดผลกระทบบางอย่างตามมา   ผลกระทบที่ว่าคืออะไร ทำไมถึงยิ่งตอกย้ำว่าวงการวิทยาศาสตร์จำเป็นต...
เงินเดือน
14 พฤศจิกายน 2023

คาดองค์กรในไทยจะขึ้นเงินเดือนเฉลี่ย 5% ในปี 2567 นายจ้างจ่อเพิ่มค่าตอบแทนเพื่อดึงดูดคนในสายงานเทคขั้นสูงและวิทยาศาสตร์สุขภาพ

เมอร์เซอร์ (ประเทศไทย) ได้เปิดเผยผลการสำรวจค่าตอบแทนประจำปี (Total Remuneration Survey: TRS) ของปี 2566 โดยพนักงานในประเทศไทยสามารถคาดหวังการปรับเงินเดือนที่สูงขึ้นในปี 2567 ซึ่งคาดว่าค่ามัธยฐานของการขึ้นเงินเดือนประจำปี (Median Merit Salary Increments) ของปี 2567 จะเพิ่มขึ้นเป็น 5% จาก 4.8% ในปี 2566   กระนั้นตัวเลขของไทยกลับต่ำกว่าค่าเ...
อุณหภูมิโลก
9 ตุลาคม 2023

อุณหภูมิเฉลี่ยโลกพุ่ง​เกินเกณฑ์​ 1.5 องศา ในจำนวนวันที่มากจนทำสถิติในปีนี้

เหล่านักวิทยาศาสตร์​ที่เฝ้าดูปัญหา​โลกร้อนต่างแสดงความเป็นห่วง​เมื่อตรวจพบอุณหภูมิ​เฉลี่ย​ของโลกล้ำเส้น 1.5 องศาเซลเซียส ​หลายครั้งในปี 2023 นี้ โดยครั้งล่าสุดยังคงค่าสูงอยู่ยาวนานหลายวันชนิดที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วย   เกณฑ์​ 1.5 องศา​เซลเซียส​มาจากไหน ใครเป็นคนกำหนด   ตัวเลขนี้มาจากข้อกำหนด​ของการประชุมชาติภาคีสมาชิก UNFCCC (กรอบอน...
น้ำแข็งอาร์กติก
8 มิถุนายน 2023

นักวิทย์ชี้ อาจ ‘สายไปแล้ว’ ที่จะหยุดยั้งไม่ให้น้ำแข็งอาร์กติกละลายหมดในช่วงฤดูร้อน

ผลการวิจัยล่าสุดเผยว่า เวลานี้อาจสายไปแล้วที่จะหยุดยั้งไม่ให้น้ำแข็งในมหาสมุทรอาร์กติกละลายหมดในช่วงฤดูร้อน ขณะที่เหล่านักวิทยาศาสตร์เตือนให้โลกเตรียมพร้อมรับมือกับเหตุสภาพอากาศรุนแรง ที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นในซีกโลกเหนือ   ผลการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่า แม้โลกจะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้อย่างรวดเร็ว ฉับพลัน แต่ถึงเช่นนั้นก็มีแนวโน...
อากาศร้อน
23 พฤษภาคม 2023

นักวิทย์เตือนประชากรโลก 2 พันล้านคนเสี่ยงเผชิญอากาศร้อนระดับอันตราย บางประเทศจะร้อนเกินกว่ามนุษย์อาศัยได้

ทีมนักวิทยาศาสตร์จากสถาบัน Global Systems แห่งมหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ (University of Exeter) และมหาวิทยาลัยหนานจิง (Nanjing University) เผยแพร่งานวิจัยฉบับล่าสุด เตือนผลกระทบจากการนิ่งเฉยในการดำเนินนโยบายรับมือภาวะโลกรวน อาจส่งผลให้ประชากรโลกกว่า 2 พันล้านคน ต้องเผชิญกับสภาพความร้อนในระดับอันตราย ในขณะที่บางประเทศนั้นอาจร้อนถึงขั้นที่มนุษย์ไม่สามารถ...
20 เมษายน 2023

นักวิทย์ชี้ โลกอาจเผชิญอุณหภูมิร้อนทุบสถิติปีนี้ ผลจากภาวะโลกรวนและการกลับมาของเอลนีโญ

บรรดานักวิทยาศาสตร์ด้านสภาพภูมิอากาศ แสดงความเห็นว่าอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกอาจพุ่งสูงทุบสถิติในช่วงปี 2023 หรือ 2024 โดยเป็นผลจากภาวะโลกรวนและการกลับมาของปรากฏการณ์เอลนีโญ (El Niño) ตามที่มีการคาดการณ์ไว้   ข้อมูลจากแบบจำลองภูมิอากาศชี้ให้เห็นว่า หลังจากเกิดปรากฏการณ์ลานีญา (La Niña) ในมหาสมุทรแปซิฟิกนานกว่า 3 ปี ซึ่งโดยทั่วไปแล้วอุณหภูมิโล...
หลุมดำ
31 มีนาคม 2023

รู้จักหลุมดำขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยค้นพบ มีมวลพอๆ กับดวงอาทิตย์ถึง 32,000 ล้าน​ดวง

ทีมนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเดอรัมในประเทศอังกฤษ นำโดย ดร.เจมส์ ไนติงเกล พบหลุมดำ ‘มวลมหาศาล’ ที่ถือได้ว่าใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยพบมา ผ่านเทคนิคการสังเกตการบิดโค้งของแสงที่เรียกว่า ‘เลนส์ความโน้มถ่วง’   หลุมดำขนาดมโหฬารนี้แฝงตัวอยู่ในใจกลางกาแล็กซี Abell 1201 ห่างจากโลกของเราออกไปประมาณ 2,700 ล้านปีแสง มีมวลในระดับที่น่าตกใจ นั่นคือเกินร...
28 มีนาคม 2023

นักวิทย์พบน้ำในหินลูกปัดแก้ว​ที่เก็บมาจากผิวดวงจันทร์อาจสามารถสกัดเพื่อบริโภคในอนาคต

ตามที่เราเคยรับรู้กันมา ดวงจันทร์นั้นไร้อากาศ ไม่มีท้องฟ้า ไม่มีเมฆ และแน่นอนว่าไม่มีน้ำ แต่การศึกษาในช่วง 20 ปีที่ผ่านมากลับพบว่าดวงจันทร์ได้เก็บกักน้ำในรูปแบบต่างๆ เอาไว้เป็นปริมาณไม่น้อย   ที่มาของน้ำบนดวงจันทร์นั้น บางส่วนเป็นโมเลกุลน้ำที่หลุดออกไปจากชั้นบรรยากาศโลก บางส่วนมาจากการพุ่งชนของดาวหางและดาวเคราะห์น้อย บางส่วนอยู่ในรูปของน...
PM2.5
20 มีนาคม 2023

ชมคลิป: ฝุ่นมรณะ PM2.5 ‘ไทยอ่วม โลกสาหัส’ ไม่มีที่ไหนปลอดภัย? | Global Focus #11

สถานการณ์ PM2.5 ที่เป็นอันตรายร้ายแรงต่อสุขภาพ ถึงขั้นทำให้ประชาชนสามารถเจ็บป่วยหรือเสียชีวิตได้ ทวีความรุนแรงมากขึ้นในหลายเมืองใหญ่ทั่วโลกรวมถึงไทย ซึ่งหลายจังหวัดหัวเมืองใหญ่อย่างกรุงเทพและเชียงใหม่ ต่างเผชิญฝุ่นมรณะปกคลุม จนดัชนีชี้วัดคุณภาพอากาศ หรือ AQI (Air Quality Index) ยกให้ติดอันดับโลก   ทั่วโลกมีสัญญาณบ่งชี้อันตรายจาก PM2.5 ที...

Close Advertising